การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กรุณา นัคราจารย์
Other Authors: บุญเรือง เนียมหอม
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6239
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6239
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กิจกรรมของนักเรียน
วารสารอิเล็กทรอนิกส์
การแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
spellingShingle กิจกรรมของนักเรียน
วารสารอิเล็กทรอนิกส์
การแก้ปัญหา
สิ่งแวดล้อมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน
กรุณา นัคราจารย์
การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 บุญเรือง เนียมหอม
author_facet บุญเรือง เนียมหอม
กรุณา นัคราจารย์
format Theses and Dissertations
author กรุณา นัคราจารย์
author_sort กรุณา นัคราจารย์
title การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_short การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_full การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_fullStr การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_full_unstemmed การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
title_sort การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6239
_version_ 1681411006948966400
spelling th-cuir.62392008-03-13T07:26:00Z การนำเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 A proposed model of electronic magazine activities on environment for enhancing creative problem solving for prathomsuksa five students กรุณา นัคราจารย์ บุญเรือง เนียมหอม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ กิจกรรมของนักเรียน วารสารอิเล็กทรอนิกส์ การแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอน วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาและเสนอรูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ 1) กลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ครูผู้สอนจากโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการประภาคารปัญญาจำนวน 45 คน 2) กลุ่มตัวอย่างในการทดลอง ทดลองเรียนตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลหนองขาหย่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานี จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อองค์ประกอบและขั้นตอนในการจัดกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ 1) วิธีการจัดกิจกรรมหลัก ประกอบด้วย (1) การเตรียมการจัดกิจกรรม ครูผู้สอนควรเตรียมการโดยวางแผนกำหนดกิจกรรมเป็นขั้นตอน ตามลำดับ จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ (2) การนำเสนอเนื้อหา ครูผู้สอนควรใช้วิธีการที่หลากหลาย (3) ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และในการทบทวนความรู้เก่า เชื่อมโยงความรู้ใหม่ ส่วนในการสรุปความรู้ ครูผู้สอน ควรให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้รับในห้องเรียน 2) การจัดทำนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ครูควรมีกิจกรรมการจุดประกายความอยากรู้ผู้เรียนให้ผู้เรียน ได้วางแผนจัดทำนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ มีการบันทึกข้อมูลที่นักเรียนรวบรวมได้ และนำเสนอข้อมูลทั้งด้านเนื้อหาความรู้ข้อค้นพบและสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้น ในการประเมินผล ประเมิน 2 ด้านคือ กระบวนการปฏิบัติงานและผลงานของนักเรียน โดยให้ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผล 3) การจัดสภาพการเรียนรู้ ควรให้นักเรียนมีความอิสระในการเรียน มีความสนุกสนานเป็นมิตร นักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรม แบ่งกลุ่มในการเรียนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน และเปิดโอกาสให้ทุกคนเรียนรู้ร่วมกันโดยไม่แยกนักเรียนกับครู 4) องค์ประกอบของเว็บไซต์แสดงนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ควรมีส่วนการแสดงเนื้อหา แสดงผลงานนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนของการติดต่อสื่อสาร มีส่วนของการเชื่อมโยงไปสู่แหล่งการเรียนรู้อื่นๆ 5) บทบาทของผู้สอน เป็นผู้อำนวยความสุดวก ช่วยเหลือ แนะนำ วิธีการค้นคว้า แหล่งการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน เป็นผู้เรียนร่วมกับนักเรียน 6) ผู้เรียนมีบทบาทหน้าที่ในปฏิบัติกิจกรรมโครงงานกลุ่มสร้างนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในการปฏิบัติ นักเรียนควรมีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและอินเทอร์เน็ต การแสวงหาความรู้ ทำงาน การจดบันทึก การแสดงความคิดเห็น การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. รูปแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 7 องค์ประกอบย่อยคือ 1) เป้าหมาย/วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 2) เนื้อหาการเรียนรู้ 3) เว็บไซต์แสดงนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ 4) กิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ 5) การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ 6) บทบาทผู้สอน 7) บทบาทผู้เรียน และขั้นตอนของกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมการ 2) ขั้นจุดประกายความอยากรู้ของนักเรียน 3) ขั้นตอนการพัฒนานิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ 4) ขั้นตอนการนำเสนอผลงาน 5) ขั้นตอนการประเมินผล 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาขึ้น พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 To study opinions of teachers on arranging electronic magazine activities to develop and propose model of electronic magazine activities on environment for enhancing creative problem solving for Prathomsuksa five students. The samples were 1) 45 teachers from school that joined Light House project 2) 20 Prathomsuksa five students in Hnongkayang kindergarten school. Descriptive statistics and t-test were used to analyze the results of the study. The research results were as follow 1. Opinions of teachers concerning components and steps of electronic magazine activities management were as follow 1) Management of main activities consisted of (1) activities preparing (2) using various methods of presentation (3) using internet to promote student to acquire knowledge 2) To create electronic magazine, teachers should acquire activities to stimulate curiosity of learners, students should make a plan for electronic magazine by themselve, teacher should record all data of learners and present all finding data and both teachers and learners to participate in learning evaluation. 3) Instructional environments should be arranged for learners to have freedom and fun in learning and to participate in all activities. 4) The electronic magazine website should contain content section, electronic magazine presentation section and links to learning resourse. 5) Teachers' roles included support for learners to know how to learn and to search for knowledge, allowing learners' freedom and learning with learner. 6) learners' roles included practice activity for electronic magazine. Learners should have skills of computer and internet utilization, seeking of knowledge, taking notes, dialoge and discussion and self learnning. 2. The proposed model comprised of 7 components 1) goals/learning objectives 2) subject content 3) web site presenting electronic magazine 4) activities of electronic magazine 5) arrangement of instructional environment to acquire of knowledge 6) teachers' roles 7) students' roles. Management of activities comprised of 5 steps 1) preparation 2) stimulation of learners' cariorty 3) development of electronic magazine 4) presentation product 5) learning evaluation 3. The creative problem solving achievement of students after learning by using electronic magazine activities was higher than the pretest scores at the .05 level of significance. 2008-03-13T07:26:00Z 2008-03-13T07:26:00Z 2548 Thesis 9741437501 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6239 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4089046 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย