การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6262 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.6262 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การพัฒนาแบบยั่งยืน การเรียนรู้ กรณีศึกษา |
spellingShingle |
การพัฒนาแบบยั่งยืน การเรียนรู้ กรณีศึกษา พจนา เอื้องไพบูลย์ การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
author2 |
รัตนา พุ่มไพศาล |
author_facet |
รัตนา พุ่มไพศาล พจนา เอื้องไพบูลย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พจนา เอื้องไพบูลย์ |
author_sort |
พจนา เอื้องไพบูลย์ |
title |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
title_short |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
title_full |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
title_fullStr |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
title_full_unstemmed |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
title_sort |
การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6262 |
_version_ |
1681411502088650752 |
spelling |
th-cuir.62622008-03-18T08:10:37Z การพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : การศึกษาแบบพหุกรณี A development of the community learning process model for sustainable development : multi case studies พจนา เอื้องไพบูลย์ รัตนา พุ่มไพศาล ปาน กิมปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การพัฒนาแบบยั่งยืน การเรียนรู้ กรณีศึกษา วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 วิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และพัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนจากการศึกษาแบบพหุกรณี พื้นที่ที่ศึกษา ได้แก่ ชุมชนบ้านต๊ำใน ในภาคเหนือ ชุมชนบ้านบุหย่อง ในภาคกลาง และชุมชนบ้านโนนรัง-บูรพา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้วิจัยใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และจัดทำรายงานการวิจัย รวมทั้งสิ้น 18 เดือน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม และการศึกษาเอกสาร รูปแบบกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นำเสนอ ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการเรียนรู้ในชุมชนที่ทำให้ชุมชนมีศักยภาพในการคิด และปฏิบัติเพื่อการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาด้านนิเวศ เศรษฐกิจและสังคมชุมชนให้ดีขึ้นและมีความสมดุล ประกอบด้วย 8 ขั้นตอนคือ การทบทวนความยากลำบากในชีวิต การตรวจสอบถึงสาเหตุวิกฤตของกลุ่มแกนนำชุมชน การกระตุ้นคนในชุมชนได้ความตระหนักในสถานการณ์ที่เป็นปัญหาของชุมชน การหาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา การปฏิบัติการตามทางเลือก การประเมินผลย้อนกลับ การพัฒนาความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้น และการบูรณาการเข้าสู่ชีวิต 2. ผลที่ได้จากการคิดและปฎิบัติของชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ทำให้นิเวศของชุมชนคือ ทรัพยากรป่า ดิน น้ำ และความหลากหลายทางชีวภาพมีความสมบูรณ์ขึ้น เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและมีความมั่นคงขึ้น โดยผลผลิตทางการเกษตรกรรมดีขึ้นและมากชนิดขึ้น จากการที่ชุมชนได้ปลี่ยนรูปแบบการผลิตที่ทำนาอย่างเดียว และมีการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก เป็นการทำเกษตรผสมผสานที่มีการบำรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ และสมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการพัฒนานิเวศและเศรษฐกิจของชุมชน 3. กระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครอบคลุมถึงกิจกรรมการเรียนรู้หลายลักษณะร่วมกัน ที่ทำให้ศักยภาพของชุมชนเพิ่มขึ้น ได้แก่ การเรียนรู้จากการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน การสนทนา พบปะหารือและประชุม การสังเกตผลของกิจกรรม การถ่ายทอดภูมิปัญญาของปราชญ์ชาวบ้าน การฝึกอบรมและดูงานในพื้นที่จริง การเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆ และการเป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ของชุมชน นอกจากนี้การเรียนรู้ผ่านประเพณีและพิธีกรรม นับว่าเป็นกิจกรรมที่มีบทบาทสำคัญสำหรับชุมชนที่มีวิถีชีวิตพึ่งพิงกับป่าธรรมชาติ To analyze a community learning process for sustainable development and to develop a model for a community learning process regarding sustainable development in multi-case studies. The study areas were the communities of Ban Tam Nai located in the North, Ban Bu Yong located in the central part, and Ban Non Rang-Burapa located in the Northeast. The researcher spent 18 months collecting data, analysing data, and reporting procedures. Data collection was done through in-dept interviewing of both individuals and groups, non participatory observations, and documentary study. Expert judgement was also used to examine and evaluate the proposed model. The research findings were as follows 1. The community's learning process enhanced its abilities to balance economic, social and environmental development in a sustainable manner. Consequently, eight steps of the learning process should consist of reviewing of life difficulties, examining critical assessment undertaken by the community core group, relating the community's discontent on public issues, planning a course of action, implementing approved alternatives, assessing feedback, developing self-confidence, and reintegrating into the livelihood. 2. The community's implementation of initiatives aimed at sustainability resulted in a richer environment, a better economy and a stronger community. Agricultural products were improved and diversified due to integrated agriculture using organic matter for soil nutrition and strong participation from community members in environmental and economy development. 3. The learning process for sustainable development must include all various communities' learning that have enhanced the community's capabilities. These activities were learned through participation in standard daily activities, from consultations or meetings, through observation of community activities, learning from local wisdom, training and field trips, learning from mass media, and through centers for knowledge transfer. Moreover, a learning process through culture and ritual activities has played a significant role in the communities' reliance on forest for their livelihood. 2008-03-18T08:10:36Z 2008-03-18T08:10:36Z 2546 Thesis 9741739001 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6262 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4846381 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |