การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์
จากการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ พบว่า เนื้อเยื่อสัตว์ที่เหมาะสมจะนำมาสกัดแยกเฮปาริน ได้แก่ เนื้อเยื่อปอดสุกร กระบวนการสกัดเฮปารินจากเนื้อเยื่อปอดสุกร ประกอบด้วย 1) การออโตไลซิสเนื้อเยื่อ 2) การย่อยเนื้อเยื่อด้วยเอนไซม์นิวเทรส 3) การตกตะกอนสารเจือปนด้วยกรดไตรคลอโรอะซิติค 4) การกำจัดสารที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำก...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6310 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.6310 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.63102008-03-20T03:07:37Z การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ เฮปาริน เซลล์และเนื้อเยื่อสัตว์ จากการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ พบว่า เนื้อเยื่อสัตว์ที่เหมาะสมจะนำมาสกัดแยกเฮปาริน ได้แก่ เนื้อเยื่อปอดสุกร กระบวนการสกัดเฮปารินจากเนื้อเยื่อปอดสุกร ประกอบด้วย 1) การออโตไลซิสเนื้อเยื่อ 2) การย่อยเนื้อเยื่อด้วยเอนไซม์นิวเทรส 3) การตกตะกอนสารเจือปนด้วยกรดไตรคลอโรอะซิติค 4) การกำจัดสารที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำกว่า 3,000 ดาลตัน ด้วยวิธีอัลทราฟิวเทรชัน 5) การตกตะกอนลำดับส่วนไกลโคอะมิโนไกลแคนประเภทต่าง ๆ ที่เจือปน รวมทั้งเฮปารินด้วยสารละลายเอธานอลในน้ำ และ 6) การทำเฮปารินที่สกัดได้ให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้น โดยวิธีแอนไอออนเอกซ์เซนจ์โครมาโตกราฟี พบว่า เฮปารินที่ได้มีค่าต่อต้านการแข็งตัวของเลือดแบบแอนตีแฟกเตอร์เทนเอ (Anti Factor Xa) เท่ากับ 143.21 ยูนิตต่อมิลลิกรัม ด้วยกระบวนการนี้สามารถสกัดเฮปารินได้ 18.20 มิลลิกรัม (2,606.42 ยูนิต) จากเนื้อเยื่อปอดสุกร 1 กิโลกรม (น้ำหนักเปียก) นอกจากนั้นได้ทำการตรวจสอบโครงสร้างทางเคมีของเฮปารินที่สกัดได้ โดยวิธีนิวเคลียร์แมคเนติคเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี และวิเคราะห์อัตราส่วนองค์ประกอบธาตุ พบว่า มีไนโตรเจน 4.63% คาร์บอน 48.86% ไฮโดรเจน 9.31% และซัลเฟอร์ 37.20% และจากการหาน้ำหนักโมเลกุลด้วยวิธีไซส์เอกซ์คลูชันโครมาโตกราฟี พบว่า เฮปารินที่ได้มีน้ำหนักโมเลกุล 4,500 ดาลตัน Study show that the most suitable tissue source for heparin extraction is porecine lung. The extraction and purification processed of heparin from porcine lung consist of 1) tissue autolysis 2) tissue disgestion by Neutrase enzyme 3) precipitation of impurities with trichloroacetic acid 4) removal of molecules weight of less than 3,000 daltons by ultrafiltration 5) fractional precipitation of contaminating glycosaminoglycans and heparin with aqueous ethanol solution and 6) further purification of the obtained heparin by anion exchange chromatography. It was found that the Anti Factor Xa blood anticoagulant activity of the purified heparin was 143.21 unit/mg. By using these extraction and purification processes, one kilogram (wet weight) of the porcing lung tissue yields 18.20 milligrams of high purify heparin (2,606.42 units). Structural analyses of the obtained heparin were done by nuclear magnetic resonance spectroscopy and elemental analysis. It was found that heparin preparation had 4.63%N 48.86%C 9.31%H and 37.20%S and molecular weight of 4,500 daltons estimated by size exclusion chromatography. ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2538-2539 2008-03-20T03:07:36Z 2008-03-20T03:07:36Z 2542 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6310 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7755539 bytes application/pdf application/pdf สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เฮปาริน เซลล์และเนื้อเยื่อสัตว์ |
spellingShingle |
เฮปาริน เซลล์และเนื้อเยื่อสัตว์ ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
description |
จากการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ พบว่า เนื้อเยื่อสัตว์ที่เหมาะสมจะนำมาสกัดแยกเฮปาริน ได้แก่ เนื้อเยื่อปอดสุกร กระบวนการสกัดเฮปารินจากเนื้อเยื่อปอดสุกร ประกอบด้วย 1) การออโตไลซิสเนื้อเยื่อ 2) การย่อยเนื้อเยื่อด้วยเอนไซม์นิวเทรส 3) การตกตะกอนสารเจือปนด้วยกรดไตรคลอโรอะซิติค 4) การกำจัดสารที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำกว่า 3,000 ดาลตัน ด้วยวิธีอัลทราฟิวเทรชัน 5) การตกตะกอนลำดับส่วนไกลโคอะมิโนไกลแคนประเภทต่าง ๆ ที่เจือปน รวมทั้งเฮปารินด้วยสารละลายเอธานอลในน้ำ และ 6) การทำเฮปารินที่สกัดได้ให้บริสุทธิ์ยิ่งขึ้น โดยวิธีแอนไอออนเอกซ์เซนจ์โครมาโตกราฟี พบว่า เฮปารินที่ได้มีค่าต่อต้านการแข็งตัวของเลือดแบบแอนตีแฟกเตอร์เทนเอ (Anti Factor Xa) เท่ากับ 143.21 ยูนิตต่อมิลลิกรัม ด้วยกระบวนการนี้สามารถสกัดเฮปารินได้ 18.20 มิลลิกรัม (2,606.42 ยูนิต) จากเนื้อเยื่อปอดสุกร 1 กิโลกรม (น้ำหนักเปียก) นอกจากนั้นได้ทำการตรวจสอบโครงสร้างทางเคมีของเฮปารินที่สกัดได้ โดยวิธีนิวเคลียร์แมคเนติคเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี และวิเคราะห์อัตราส่วนองค์ประกอบธาตุ พบว่า มีไนโตรเจน 4.63% คาร์บอน 48.86% ไฮโดรเจน 9.31% และซัลเฟอร์ 37.20% และจากการหาน้ำหนักโมเลกุลด้วยวิธีไซส์เอกซ์คลูชันโครมาโตกราฟี พบว่า เฮปารินที่ได้มีน้ำหนักโมเลกุล 4,500 ดาลตัน |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง |
format |
Technical Report |
author |
ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง |
author_sort |
ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง |
title |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_short |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_full |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_fullStr |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_full_unstemmed |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
title_sort |
การสกัดแยกเฮปารินจากเนื้อเยื่อสัตว์ : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
publisher |
สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6310 |
_version_ |
1681410932553547776 |