การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa

ทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง Gracilaria verrucosa ซึ่งจัดเป็นสาหร่ายวุ้นที่สำคัญชนิดหนึ่งที่บริเวณสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง โดยวิธีเลี้ยงสามแบบ คือ การเลี้ยงในถังไฟเบอร์กลาส การเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยปักหลักอยู่กับที่และการเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยการผูกติดกับทุ่น แปลงที่ทดลองเลี้ยงมีท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เยาวลักษณ์ มณีรัตน์, ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6313
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6313
record_format dspace
spelling th-cuir.63132008-03-20T04:20:55Z การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa Cultivation of red algae, Gracilaria verrucosa เยาวลักษณ์ มณีรัตน์ ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ สาหร่ายสีแดง ทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง Gracilaria verrucosa ซึ่งจัดเป็นสาหร่ายวุ้นที่สำคัญชนิดหนึ่งที่บริเวณสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง โดยวิธีเลี้ยงสามแบบ คือ การเลี้ยงในถังไฟเบอร์กลาส การเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยปักหลักอยู่กับที่และการเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยการผูกติดกับทุ่น แปลงที่ทดลองเลี้ยงมีทั้งหมด 2แปลง การเลี้ยงสาหร่ายชนิดนี้สามารถทำได้เพียงในระยะเวลาสั้น ๆ และไม่ได้ผลเท่าที่ควรเนื่องจากมีปัญหาเรื่องคลื่นลมแรง ปริมาณน้ำจืดที่ไหลลงสู่บริเวณแปลงเพาะเลี้ยงและการกัดกินสาหร่ายของหอยเม่น ปัญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือปริมาณและความแข็งแรงของสาหร่ายที่จะนำมาเลี้ยง Three methods of cultivation of red algae, Gracilaria verrucosa, which is one of the important agarophytes, were demonstrated at Si Chang Marine Research and Training Station, Chonburi Province. Net cultivation methods with fixed positions and with floats were employed. A semi-closed culture system in fiberglass tank was also used. Two selected sites were chosen. The cultured only lasted a short period and with unsuccessful results. Major constraints of the cultures are strong wave actions, freshwater-runoff, grazing intensity from sea urchins and the unhealth seedlings. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิตเกาะสีชัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008-03-20T04:20:54Z 2008-03-20T04:20:54Z 2527 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6313 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2616470 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สาหร่ายสีแดง
spellingShingle สาหร่ายสีแดง
เยาวลักษณ์ มณีรัตน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
description ทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง Gracilaria verrucosa ซึ่งจัดเป็นสาหร่ายวุ้นที่สำคัญชนิดหนึ่งที่บริเวณสถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง โดยวิธีเลี้ยงสามแบบ คือ การเลี้ยงในถังไฟเบอร์กลาส การเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยปักหลักอยู่กับที่และการเลี้ยงแบบแขวนลอยโดยการผูกติดกับทุ่น แปลงที่ทดลองเลี้ยงมีทั้งหมด 2แปลง การเลี้ยงสาหร่ายชนิดนี้สามารถทำได้เพียงในระยะเวลาสั้น ๆ และไม่ได้ผลเท่าที่ควรเนื่องจากมีปัญหาเรื่องคลื่นลมแรง ปริมาณน้ำจืดที่ไหลลงสู่บริเวณแปลงเพาะเลี้ยงและการกัดกินสาหร่ายของหอยเม่น ปัญหาที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือปริมาณและความแข็งแรงของสาหร่ายที่จะนำมาเลี้ยง
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
เยาวลักษณ์ มณีรัตน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
format Technical Report
author เยาวลักษณ์ มณีรัตน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
author_sort เยาวลักษณ์ มณีรัตน์
title การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
title_short การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
title_full การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
title_fullStr การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
title_full_unstemmed การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, Gracilaria verrucosa
title_sort การทดลองเลี้ยงสาหร่ายสีแดง, gracilaria verrucosa
publisher จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6313
_version_ 1681409810000510976