การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ

เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการและเกษตรกรว่า การใช้อินทรีย์วัตถุไม่ว่าในรูปของเศษวัสดุที่นำมาทำปุ๋ยหมัก หรือในรูปของสารสกัด กรดฮิวมิก มีผลในการปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตของข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตามเรายังขาดข้อมูลการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพของการใช้อินทรีย์วัตถุดังกล...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์, พรชัย สุธาทร
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6316
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6316
record_format dspace
spelling th-cuir.63162008-03-20T06:12:58Z การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ Soil improvement with organic matter เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์ พรชัย สุธาทร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ กรมพัฒนาที่ดิน ดิน ความสมบูรณ์ของดิน กรดฮิวมิก กรดอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการและเกษตรกรว่า การใช้อินทรีย์วัตถุไม่ว่าในรูปของเศษวัสดุที่นำมาทำปุ๋ยหมัก หรือในรูปของสารสกัด กรดฮิวมิก มีผลในการปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตของข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตามเรายังขาดข้อมูลการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพของการใช้อินทรีย์วัตถุดังกล่าว และผลการใช้อินทรีย์วัตถุทั้งสองชนิดร่วมกัน ดังนั้นจุดประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ก็เพื่อหาคำตอบดังกล่าวข้างต้น โดยคัดเลือกแปลงนาของเกษตรกร จังหวัดศรีสะเกษ อำเภออุทุมพรพิสัยและอำเภอห้วยทับทัน จำนวน 10 แปลง แต่ละแปลงมีพื่นที่ 4 ไร่ เพื่อศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยหมัก, ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยหมักและปุ๋ยเคมี โดยใช้แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีอย่างเดียงเป็นแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งผลปรากฏว่า ผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งปลูกในดินชุดร้อยเอ็ด ในแปลงที่ใช้ฮิวมิก้า 1 ลิตรต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ่ยหมัก 1 ตันต่อไร่ แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีและปุ๋ยหมัก 2 ตัน แปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีและฮิวมิก้า 2 ลิตรต่อไร่ และแปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวให้ผลผลิตเฉลี่ย 46.52 ถังต่อไร่ 43.46 ถังต่อไร่ 42.97 ถังต่อไร่ และ 32.39 ถังต่อไร่ ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า แปลงที่ใช้ ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ๋ยหมัก 1 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด โดยสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวถึง 14.13 ถังต่อไร่ คิดเป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 43.62% โดยเฉพาะอย่างยิ่งแปลงที่ 7 ผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 23.1 ถังต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้นถึง 71.96% สรุปได้ว่าการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับกรดฮิวมก ให้ผลดีที่สุด คือ ดีกว่าใช้ปุ๋ยหมักอย่างเดียวหรือกรดฮิวมิกล้วน ๆ นอกจากนี้กรดฮิวมิกยังสามารถใช้ทดแทนปุ๋ยหมักได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่เกษตรกรไม่สามารถหาปุ๋ยหมักหรือเศษวัสดุในท้องถิ่นได้เพียงพอ 2008-03-20T06:12:57Z 2008-03-20T06:12:57Z 2533 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6316 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1353461 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ดิน
ความสมบูรณ์ของดิน
กรดฮิวมิก
กรดอินทรีย์
ปุ๋ยหมัก
spellingShingle ดิน
ความสมบูรณ์ของดิน
กรดฮิวมิก
กรดอินทรีย์
ปุ๋ยหมัก
เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์
พรชัย สุธาทร
การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
description เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการและเกษตรกรว่า การใช้อินทรีย์วัตถุไม่ว่าในรูปของเศษวัสดุที่นำมาทำปุ๋ยหมัก หรือในรูปของสารสกัด กรดฮิวมิก มีผลในการปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตของข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างไรก็ตามเรายังขาดข้อมูลการเปรียบเทียบระหว่างประสิทธิภาพของการใช้อินทรีย์วัตถุดังกล่าว และผลการใช้อินทรีย์วัตถุทั้งสองชนิดร่วมกัน ดังนั้นจุดประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ก็เพื่อหาคำตอบดังกล่าวข้างต้น โดยคัดเลือกแปลงนาของเกษตรกร จังหวัดศรีสะเกษ อำเภออุทุมพรพิสัยและอำเภอห้วยทับทัน จำนวน 10 แปลง แต่ละแปลงมีพื่นที่ 4 ไร่ เพื่อศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยหมัก, ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยหมักและปุ๋ยเคมี โดยใช้แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีอย่างเดียงเป็นแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งผลปรากฏว่า ผลผลิตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งปลูกในดินชุดร้อยเอ็ด ในแปลงที่ใช้ฮิวมิก้า 1 ลิตรต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ่ยหมัก 1 ตันต่อไร่ แปลงที่ใช้ปุ่ยเคมีและปุ๋ยหมัก 2 ตัน แปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีและฮิวมิก้า 2 ลิตรต่อไร่ และแปลงที่ใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวให้ผลผลิตเฉลี่ย 46.52 ถังต่อไร่ 43.46 ถังต่อไร่ 42.97 ถังต่อไร่ และ 32.39 ถังต่อไร่ ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า แปลงที่ใช้ ฮิวมิก้า (กรดฮิวมิก) ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ๋ยหมัก 1 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด โดยสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบ ซึ่งใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวถึง 14.13 ถังต่อไร่ คิดเป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 43.62% โดยเฉพาะอย่างยิ่งแปลงที่ 7 ผลผลิตเพิ่มขึ้นถึง 23.1 ถังต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้นถึง 71.96% สรุปได้ว่าการใช้ปุ๋ยหมักร่วมกับกรดฮิวมก ให้ผลดีที่สุด คือ ดีกว่าใช้ปุ๋ยหมักอย่างเดียวหรือกรดฮิวมิกล้วน ๆ นอกจากนี้กรดฮิวมิกยังสามารถใช้ทดแทนปุ๋ยหมักได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่เกษตรกรไม่สามารถหาปุ๋ยหมักหรือเศษวัสดุในท้องถิ่นได้เพียงพอ
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์
พรชัย สุธาทร
format Technical Report
author เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์
พรชัย สุธาทร
author_sort เยาวลักษณ์ อัมพรรัตน์
title การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
title_short การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
title_full การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
title_fullStr การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
title_full_unstemmed การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
title_sort การปรับปรุงดินด้วยอินทรีย์วัตถุ
publisher จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6316
_version_ 1681409494679027712