ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จีระวดี นาคดี
Other Authors: นิรมล ชำนาญนิธิอรรถ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6335
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6335
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กะโหลกศีรษะ
ขากรรไกร
ทันตกรรมจัดฟัน
การสบฟันผิดปกติ
spellingShingle กะโหลกศีรษะ
ขากรรไกร
ทันตกรรมจัดฟัน
การสบฟันผิดปกติ
จีระวดี นาคดี
ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 นิรมล ชำนาญนิธิอรรถ
author_facet นิรมล ชำนาญนิธิอรรถ
จีระวดี นาคดี
format Theses and Dissertations
author จีระวดี นาคดี
author_sort จีระวดี นาคดี
title ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
title_short ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
title_full ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
title_fullStr ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
title_full_unstemmed ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
title_sort ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง
publisher จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6335
_version_ 1681411585211367424
spelling th-cuir.63352008-03-21T06:49:17Z ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สองในผู้ป่วยไทยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันกลุ่มหนึ่ง Class II skeletal characteristics in a group of Thai orthodontic patients จีระวดี นาคดี นิรมล ชำนาญนิธิอรรถ ปิยารัตน์ อภิวัฒนกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ กะโหลกศีรษะ ขากรรไกร ทันตกรรมจัดฟัน การสบฟันผิดปกติ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความผิดปกติของขากรรไกรในผู้ป่วยไทยทีมีโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบที่สอง และศึกษาอัตราการเกิดความผิดปกติแบบต่างๆ ในเพศชายและเพศหญิง รวมทั้งเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศ กลุ่มตัวอย่างได้จากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน ที่คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน (ชาย 50, หญิง 50 คน) อายุ 18-43 ปี มีค่ามุมเอเอ็นบีมากกว่าหรือเท่ากับ 6 องศา นำภาพรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้างก่อนการรักษาของกลุ่มตัวอย่างมาลอกลาย วัดค่าเซฟาโลเมตริกที่แสดงลักษณะขากรรไกรบนและล่างในแนวหน้าหลัง ได้แก่ มุมเอสเอ็นเอ ความยาวขากรรไกรบน มุมแม็กซิลลารีเด็พ มุมเอสเอ็นบี ความยาวขากรรไกรล่าง มุมเฟเชียลเด็พ วัดค่าเซฟาโลเมตริกที่แสดงลักษณะในแนวดิ่งของโครงสร้างใบหน้าและขากรรไกร ได้แก่ มุมเฟเชียลแอ็กซิส มุมแฟรงค์ฟอร์ทแมนดิบูลาเพลน ความสูงใบหน้าส่วนล่าง ความสูงใบหน้าส่วนหลัง มุมแมนดิบูลาอาร์ค นำค่าที่วัดได้เทียบกับค่าปกติของคนไทยที่ใช้ในคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างขากรรไกรบนและล่างในแนวหน้าหลัง จำแนกเป็นตำแหน่งถอยหลัง ตำแหน่งปกติ และตำแหน่งยื่นไปทางด้านหน้า โดยใช้การผ่านเกณฑ์สองในสามของวิธการวัด การวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะในแนวดิ่งจำแนกเป็นโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบสบลึก แบบสบปกติ และแบบสบเปิด โดยใช้การผ่านเกณฑ์สามในห้าของวิธีการวัด หาอัตราการเกิดความผิดปกติของโครงสร้างกะโหลกศีรษะชนิดต่างๆ และเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับลักษณะโครงสร้างโดยใช้สถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีโครงสร้างกระโหลกศีรษะในแนวหน้าหลังเป็นแบบ ขากรรไกรบนและขากรรไกรล่างอยู่ในตำแหน่งปกติมากที่สุดทั้งในเพศชายและเพศหญิง (ร้อยละ 44 และ 46 ตามลำดับ) ลักษณะที่พบมากเป็นลำดับสองในเพศชายคือขากรรไกรบนยื่นร่วมกับขากรรไกรล่างอยู่ในตำแหน่งปกติ (ร้อยละ 24) ในเพศหญิงคือขากรรไกรบนอยู่ในตำแหน่งปกติร่วมกับขากรรไกรล่างอยู่ในตำแหน่งถอยหลัง (ร้อยละ 26) ลักษณะในแนวดิ่งพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะแบบสบปกติเป็นจำนวนมากที่สุด (ร้อยละ 46) ซึ่งใกล้เคียงกันกับโครงกะโหลกศีรษะแบบสบเปิด (ร้อยละ 41) เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับลักษณะโครงสร้างกะโหลกศีรษะทั้งแนวหน้าหลังและแนวดิ่ง พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ The purpose of this study was to investigate incidence and characteristics of skeletal CI II malformation in both males and females in Thai population. One hundred initial lateral cephalometric films of 50 males and 50 females, aged between 18-43 years, were selected from patients, who presented for orthodontic treatment at Faculty of Dentistry, Chulalongkorn University based on ANB angle (ANB greater or equals to 6 degree). All films were traced and measured for the cephalometric parameters : anteropgsterior characteristics of maxilla and mandible (SNA, maxillary length, maxillary depth, SNB, mandibular length, and facial depth), and vertical characteristics (facial axis, Frankfort mandibular plane angle, lower facial height, posterior facial height, and mandiular arc). All parameters were then analysed and compared with accepted Thai norms, which were used in this department to classify the position and relationship of maxillary and mandibular arches into 3 anteroposterior categories (passing 2 out of 3 criterias): orthognathic, prognathic, and retrognathic : and 3 vertical categories (passing 3 out of 5 criterias): normal bite, open bite, and deep bite. The incidences of all categories were also compared between genders using Chi-square statistics. The results of this study indicated that the most common anteroposterior characteristic of skeletal CI II was orthognathic maxilla combined with orthognathic mandible for both males and females (44% and 46%) The second most common characteristics in males and females were prognathic maxilla combined with orthognathic mandible (24%) and orthognathic maxilla combined with retrognathic mandible (26%) respectively. The most common vertical characteristics was skeletal normal bite (46%) followed by skeletal open bite (41%). No statistical significant differences of anteroposterior or vertical characteristic was found between genders. 2008-03-21T06:49:16Z 2008-03-21T06:49:16Z 2548 Thesis 9741424078 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6335 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1508379 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัย