การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อุดม คลอดกลาง
Other Authors: คมสัน เพ็ชรรักษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6485
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6485
record_format dspace
spelling th-cuir.64852008-04-02T09:37:06Z การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3] Determination of humidity correction factor of lightning impulse and ac flashover voltage test of insulator at h/delta greater than 15 g/m[superscript 3] อุดม คลอดกลาง คมสัน เพ็ชรรักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ความชื้นสัมพัทธ์ ไฟฟ้าแรงสูง ฉนวนไฟฟ้า วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการศึกษาผลกระทบของความชื้นในอากาศที่มีต่อแรงดันวาบไฟตามผิว อิมพัลส์ฟ้าผ่ามาตรฐาน 1.2/50 ms และกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าชนิดต่าง โดยอ้างอิงการทดสอบ และการติดตั้งตามมาตรฐาน IEC 60060-1, IEC 60383-1 และ IEC 60168 ผลการทดสอบหาความสัมพันธ์ ระหว่างแรงดันวาบไฟตามผิวกับความขึ้นสัมบูรณ์ต่อความหนาแน่นอากาศสัมพันธ์ (h/delta) ที่ได้จะนำ ไปเป็นแนวทางในการวิเคราะห์หาค่าตัวประกอบแก้ไขความขึ้นในช่วงที่ค่า (h/delta) สูงกว่า 15 g/m3 ซึ่งเป็นสภาพอากาศโดยทั่วไปในประเทศไทย จากการทดลองพบว่า ในช่วงที่ค่า h/delta สูงกว่า 15 g/m3 อัตราการเปลี่ยนแปลงของแรงดันวาบไฟตามผิวมีค่าน้อยลง เมื่อค่า h/delta มีค่าสูงขึ้นตัวประกอบ แก้ไขความชื้นตามสมการที่มาตรฐาน IEC กำหนดไม่สามารถใช้กับช่วง h/delta สูงกว่า 15 g/m3 ซึ่งใน วิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอค่าดังกล่าวที่ได้จากการทดลองในช่วงหนึ่งปีระหว่าง มกราคม 2547 ถึง มกราคม 2548 This thesis presents the preliminary study of the effect of humidity in the air on the standard lightning impulse 1.2/50 ms and AC flashover voltage of insulators. The international standards ICE 60060-1, IEC 60383-1 and IEC 60168 were used as a guideline in this study. The relationship between flashover voltage and absolute humidity reduced relative air density (h/delta) from test may be used to determine the humidity correction factor in a case where h/delta is high than 15 g/m3. The test result show that at h/delta higher than 15 g/m3 the increasing rate of flashover voltage is lower than the expected value. The humidity correction factor that given in ICE standard is not suitable in this range of h/delta. Thus, the humidity correction factor for h/delta higher than 15 g/m3 should be modified. This thesis proposes a new humidity correction factor form the test that was performed between January 2004 to January 2005. 2008-04-02T09:37:06Z 2008-04-02T09:37:06Z 2548 Thesis 9745311723 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6485 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2604187 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความชื้นสัมพัทธ์
ไฟฟ้าแรงสูง
ฉนวนไฟฟ้า
spellingShingle ความชื้นสัมพัทธ์
ไฟฟ้าแรงสูง
ฉนวนไฟฟ้า
อุดม คลอดกลาง
การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 คมสัน เพ็ชรรักษ์
author_facet คมสัน เพ็ชรรักษ์
อุดม คลอดกลาง
format Theses and Dissertations
author อุดม คลอดกลาง
author_sort อุดม คลอดกลาง
title การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
title_short การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
title_full การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
title_fullStr การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
title_full_unstemmed การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
title_sort การหาค่าตัวประกอบแก้ไขความชื้นของการทดสอบแรงดันวาบไฟตามผิวรูปคลื่นฟ้าผ่าและการทดสอบแรงดันสูงกระแสสลับของลูกถ้วยไฟฟ้าที่ค่า h/alpha เกินกว่า 15 g/m[superscript 3]
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6485
_version_ 1681411621624217600