การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6517 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.6517 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.65172008-04-03T09:23:07Z การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ Optimal design of a carbon dioxide recovery system มลฤดี ประกอบกลิ่น พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ การดูดซึม แอลคาโนลามีน คาร์บอนไดออกไซด์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 งานวิจัยนี้นำแนวคิด Life Cycle Assessment (LCA) มาเพื่อการวิเคราะห์หาตัวทำละลายที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยพิจารณาสารละลาย 5 ชนิด ได้แก่ MEA DGA DEA DIPA MDEA ทำการศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงชนิดของสารละลาย การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารละลาย และการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนโมลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่อโมลของสารละลายเอมีน ที่มีผลต่อการใช้พลังงานในกระบวนการและการทำลายเอ็กเซอร์จีของกระบวนการ จากการวิเคราะห์พบว่าสารละลายที่เหมาะสมเพื่อใช้ในกระบวนการแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แก่ สารละลายเมทิลไดเอทาโนลามีน (MDEA) เนื่องจากเป็นสารละลายที่ใช้พลังงานในกระบวนการน้อยที่สุด และมีการทำลายเอ็กเซอร์จีน้อยที่สุด โดยความเข้มข้นที่เหมาะสมคือ 20% และอัตราส่วนโมลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่อโมลสารละลายเอมีนเท่ากับ 0.3 นอกจากนั้นยังพบอีกด้วยว่ากระบวนการผลิต MDEA เป็นกระบวนการที่ใช้พลังงานในการผลิตน้อยที่สุดด้วยเช่นกัน The research is to apply the concept of LCA for analysing the CO2 removal process in order to search for the proper amine solutions. The amine solutions to be considered are MEA, DGA, DEA, DIPA, MDEA. The effect of the changes in solution types, concentration, and loading on the energy used and exergy destruction in the process were studied. From the analysis, it was found that the optimal solution for the CO2 separation process is MDEA, since it consumes the least energy and destructs the minimal exergy. The proper concentration is 20% ant the CO2 loading is 0.3. Furthermore, it was also found that MDEA production process is also the process that utilizes the least energy. 2008-04-03T09:23:06Z 2008-04-03T09:23:06Z 2542 Thesis 9743334027 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6517 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7910358 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การดูดซึม แอลคาโนลามีน คาร์บอนไดออกไซด์ |
spellingShingle |
การดูดซึม แอลคาโนลามีน คาร์บอนไดออกไซด์ มลฤดี ประกอบกลิ่น การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
author2 |
พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
author_facet |
พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ มลฤดี ประกอบกลิ่น |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มลฤดี ประกอบกลิ่น |
author_sort |
มลฤดี ประกอบกลิ่น |
title |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
title_short |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
title_full |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
title_fullStr |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
title_full_unstemmed |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
title_sort |
การออกแบบที่เหมาะสมของระบบแยกแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6517 |
_version_ |
1681408978862473216 |