อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ระดับชั้นและเพศของนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ช่วงเวลาการเกิดอุบัติเหตุ อวัยวะที่ได้รับอุบัติเหตุ สถานที่เกิดอุบัติเหตุ สาเหตุและลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ การรักษาพยาบาลนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา, มลชุลี อนุรักษ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6615
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6615
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) -- นักเรียน
อุบัติเหตุในโรงเรียน -- การป้องกัน
spellingShingle โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) -- นักเรียน
อุบัติเหตุในโรงเรียน -- การป้องกัน
นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา
มลชุลี อนุรักษ์
อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ระดับชั้นและเพศของนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ช่วงเวลาการเกิดอุบัติเหตุ อวัยวะที่ได้รับอุบัติเหตุ สถานที่เกิดอุบัติเหตุ สาเหตุและลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ การรักษาพยาบาลนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ปีการศึกษา 2531-2534 ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากสมุดรายงานบันทึกอุบัติเหตุของห้องพยาบาลโรงเรียนในปีการศึกษา 2531-2534 ประชากรได้แก่นักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคนที่ได้รับอุบัติเหตุในโรงเรียนและมารับการรักษาที่ห้องพยาบาล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ในช่วงปีการศึกษา 2531-2534 มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นกับนักเรียน 3906 ครั้ง คิดเฉลี่ยประมาณ 976 ครั้งต่อปี ในแต่ละปีนักเรียนมีเวลาเรียนประมาณ 190 วัน อัตราการเกิดอุบัติเหตุจึงมีประมาณวันละ 5 ครั้ง เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนทั้งหมด ปรากฏว่ามีอุบัติเหตุเกิดขึ้นประมาณ 57 ครั้งต่อนักเรียน 100 คน เดือนที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ เดือนธันวาคม เกิดขึ้นร้อยละ 12.52 รองลงมาคือ เดือนพฤศจิกายน ปีการศึกษาที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดคือ ปีการศึกษา 2532 คิดเป็นร้อยละ 65.04 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด น้อยที่สุดคือปีการศึกษา 2534 ระดับชั้นที่นักเรียนได้รับอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 91.19 ของจำนวนนักเรียนในระดับชั้นเดียวกัน รองลงมาคือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 น้อยที่สุดคือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และอุบัติเหตุเกิดกับนักเรียนชายมากกว่านักเรียนหญิง 2. ช่วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ช่วงเย็นหลังเลิกเรียน คิดเป็นร้อยละ 36.41 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด 3. อวัยวะของร่างกายที่ได้รับอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ขา คิดเป็นร้อยละ 34.54 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด รองลงมาคือ มือและแขน 4. สถานที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ สนามในโรงเรียน เกิดขึ้นร้อยละ 43.75 รองลงมาคือ ห้องเรียน โถง บันได้ ทางเดิน 5. สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ การขาดความระมัดระวัง เกิดขึ้นร้อยละ 86.32 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด รองลงมาคือ มีทักษะและมีประสบการณ์น้อยในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ 6. ลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ มีอุบัติเหตุธรรมดาเกิดขึ้นร้อยละ 97.88 อุบัติเหตุรุนแรงเกิดขึ้นร้อยละ 2.12 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด 7. การรักษาพยาบาล ยาที่ใช้รักษาบาดแผลมากที่สุดในอุบัติเหตุธรรมดา คือยาแดง ใช้ร้อยละ 53.15 ของอุบัติเหตุธรรมดาที่เกิดขึ้น รองลงมาคือ เบนทาดีน การรักษาอุบัติเหตุรุนแรง โรงเรียนจะนำผู้บาดเจ็บส่งคลินิกแพทย์มากที่สุดร้อยละ 71.60 ของอุบัติเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้น รองลงมาคือ ผู้ปกครองพาไปรักษาเองและส่งโรงพยาบาล
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา
มลชุลี อนุรักษ์
format Technical Report
author นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา
มลชุลี อนุรักษ์
author_sort นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา
title อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
title_short อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
title_full อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
title_fullStr อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
title_full_unstemmed อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
title_sort อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6615
_version_ 1681413762264858624
spelling th-cuir.66152008-04-18T02:13:50Z อุบัติเหตุของนักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2531-2534 Students' accidents in Chulalongkorn University Demonstration School : grade 1-6 academic years 2531-2534 นันทิยา วงศ์เสรีพิพัฒนา มลชุลี อนุรักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) -- นักเรียน อุบัติเหตุในโรงเรียน -- การป้องกัน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ระดับชั้นและเพศของนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ช่วงเวลาการเกิดอุบัติเหตุ อวัยวะที่ได้รับอุบัติเหตุ สถานที่เกิดอุบัติเหตุ สาเหตุและลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ การรักษาพยาบาลนักเรียนที่ได้รับอุบัติเหตุ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ปีการศึกษา 2531-2534 ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากสมุดรายงานบันทึกอุบัติเหตุของห้องพยาบาลโรงเรียนในปีการศึกษา 2531-2534 ประชากรได้แก่นักเรียนสาธิตจุฬาฯ (ฝ่ายประถม) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคนที่ได้รับอุบัติเหตุในโรงเรียนและมารับการรักษาที่ห้องพยาบาล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ในช่วงปีการศึกษา 2531-2534 มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นกับนักเรียน 3906 ครั้ง คิดเฉลี่ยประมาณ 976 ครั้งต่อปี ในแต่ละปีนักเรียนมีเวลาเรียนประมาณ 190 วัน อัตราการเกิดอุบัติเหตุจึงมีประมาณวันละ 5 ครั้ง เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนทั้งหมด ปรากฏว่ามีอุบัติเหตุเกิดขึ้นประมาณ 57 ครั้งต่อนักเรียน 100 คน เดือนที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ เดือนธันวาคม เกิดขึ้นร้อยละ 12.52 รองลงมาคือ เดือนพฤศจิกายน ปีการศึกษาที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดคือ ปีการศึกษา 2532 คิดเป็นร้อยละ 65.04 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด น้อยที่สุดคือปีการศึกษา 2534 ระดับชั้นที่นักเรียนได้รับอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 91.19 ของจำนวนนักเรียนในระดับชั้นเดียวกัน รองลงมาคือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 น้อยที่สุดคือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และอุบัติเหตุเกิดกับนักเรียนชายมากกว่านักเรียนหญิง 2. ช่วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ช่วงเย็นหลังเลิกเรียน คิดเป็นร้อยละ 36.41 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด 3. อวัยวะของร่างกายที่ได้รับอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ขา คิดเป็นร้อยละ 34.54 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด รองลงมาคือ มือและแขน 4. สถานที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ สนามในโรงเรียน เกิดขึ้นร้อยละ 43.75 รองลงมาคือ ห้องเรียน โถง บันได้ ทางเดิน 5. สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ การขาดความระมัดระวัง เกิดขึ้นร้อยละ 86.32 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด รองลงมาคือ มีทักษะและมีประสบการณ์น้อยในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ 6. ลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ มีอุบัติเหตุธรรมดาเกิดขึ้นร้อยละ 97.88 อุบัติเหตุรุนแรงเกิดขึ้นร้อยละ 2.12 ของจำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทั้งหมด 7. การรักษาพยาบาล ยาที่ใช้รักษาบาดแผลมากที่สุดในอุบัติเหตุธรรมดา คือยาแดง ใช้ร้อยละ 53.15 ของอุบัติเหตุธรรมดาที่เกิดขึ้น รองลงมาคือ เบนทาดีน การรักษาอุบัติเหตุรุนแรง โรงเรียนจะนำผู้บาดเจ็บส่งคลินิกแพทย์มากที่สุดร้อยละ 71.60 ของอุบัติเหตุรุนแรงที่เกิดขึ้น รองลงมาคือ ผู้ปกครองพาไปรักษาเองและส่งโรงพยาบาล Aims to investigate the data of accident occured to the grade 1-6 students of the Chulalongkorn University Demonstration Elementary School, between the academic year of B.E. 2531-2534, concerning the number of cases, students' grade level and gender, time, injury, place, causes and severity, and medical treatment. Frequency and percentile were adopted to analyse the data got from the school first report. The population were all first to sixth grade students who had an accident and received the medical treatment at the first aid room. Findings-:1. During the academic year of B.E. 2531-2534, there were 3,906 cases of accident, averagely 976 cases a year. Where there were 190 school days a year, it meaned that there were 5 cases of accident occurred in a day. Comparing to the whole number of students, fifty seven cases of accident were found among the number of 100 students. Moreover the data guided that December was the month that had the highest number of cases occurred and November came as the secondly. The academic year of B.E. 2532 had the highest number of accidents or 65.04& of all number of accidents, while the academic year of B.E. 2534 had the lowest number. The most of all accident sufferers (90.19%) were the first graders and the next of the rank were the second graders, while the fifth grade students had the lowest number of accidents. Also found that accidents were occurred with the boys more that with the girls. 2. The time, that most of accidents (34.59%) occurred, was in the afternoon, after the school hour. 3. Legs were the part of the body primarily injured from the accident of 34.54% of all injuries. Hands and arms came as the second of the rank. 4. The school yard where the highest number of accidents taken place (43.75%), while the next places were the classroom, the stairway, and the pathway. 5. Carelessness (86.32%) was the primary causes the accident, whereas the second ranking was lacking of skill and experience in using tools. 6. The severity of accident: 97.88% of the population was the minor one, only 2.12% was the serious case. 7. The mercurochrome was mostly used in treating the injury from the minor accidents (53.15%), the second mostly used was Bentadine. For the serious cases, the school sent 71.60% of the accidental sufferers to medical clinic, the next of the rank were that, the sufferer's parents taking their child from school to be treated by themselves, and sending the sufferers to the hospital. ทุนส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ปี 2536 2008-04-18T02:13:49Z 2008-04-18T02:13:49Z 2536 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6615 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11229276 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย