ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา

วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน
Other Authors: วราภรณ์ ชัยวัฒน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6692
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6692
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic พฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- สงขลา
วัยรุ่น -- ไทย -- สงขลา
วัยรุ่น -- โภชนาการ -- ไทย -- สงขลา
spellingShingle พฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- สงขลา
วัยรุ่น -- ไทย -- สงขลา
วัยรุ่น -- โภชนาการ -- ไทย -- สงขลา
เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 วราภรณ์ ชัยวัฒน์
author_facet วราภรณ์ ชัยวัฒน์
เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน
format Theses and Dissertations
author เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน
author_sort เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน
title ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6692
_version_ 1681410269322936320
spelling th-cuir.66922008-04-24T09:33:49Z ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น จังหวัดสงขลา Relationships between selected factors and health eating behaviors of early aldolescents, Songkla Province เบญจวรรณ ลุ้งบ้าน วราภรณ์ ชัยวัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ พฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- สงขลา วัยรุ่น -- ไทย -- สงขลา วัยรุ่น -- โภชนาการ -- ไทย -- สงขลา วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม กับความตั้งใจกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น พร้อมทั้งศึกษาอำนาจในการทำนายของปัจจัยดังกล่าว กับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดสงขลา จำนวน 400 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็น แบบสอบถามเจตคติต่อพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น แบบสอบถามการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น แบบสอบถามความตั้งใจเกี่ยวกับการกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น และแบบสอบถามพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวันรุ่นตอนต้น ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และมีความเที่ยงจากการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอบนาคเท่ากับ .80, .89, .87, .84 และ .50 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณหาจำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร็สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. วัยรุ่นตอนต้นจังหวัดสงขลามีพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.15 2. เจตคติต่อพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ และความตั้งใจกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้นจังหวัดสงขลา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวัยรุ่นตอนต้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0253, .281, .337 และ .378) 3. ความตั้งใจกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ สามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพในวันรุ่นตอนต้นจังหวัดสงขลาได้ 15.3% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ พฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ = .136Z ความตั้งใจกระทำพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ + .110Z การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมบริโภคเพื่อสุขภาพ To examine the relationships among attitude, subjective norm, perceived behavioral control, intention to healthy eating behaviors of early adolescents in Songkla province. Study sample consisted of 400 lower secondary students in 3 schools in Songkla province. Subjects were selected by multistage random sampling. Instruments included the demographic data questionnaire, attitude towards healthy eating behaviors questionnaire, subjective norm questionnaire, perceived behavioral control questionnaire, intention to healthy eating behaviors questionnaire and healthy eating behaviors questionnaire. Content validity for all questionnaires was established by a panel of experts. Cronbach's alpha coefficients of the instruments were .80, .89, .87, .84, and .50, respectively. Descriptive statistics, Pearson product-moment correlation and stepwise multiple regression were used for statistical analysis. The results were as follows 1. Early adolescents in Songkla province had medium level of healthy eating behaviors. 2.There were positive correlations between attitude towards healthy eating behaviors, subjective norm, perceived behavioral control, and intention with healthy eating behaviors of early adolescents in Songkla province, at the level of .05 (r = .253, .281, .337, and .378 respectively). 3. Perceived behavioral control and intention significantly predicted 15.3% of the variance of healthy eating behaviors in early adolescents in Songkla province, at the level of .05, The equation derived from the standardized score was: Healthy eating behaviors = .136Z intention + .110Z Perceived behavioral control. 2008-04-24T09:33:49Z 2008-04-24T09:33:49Z 2548 Thesis 9741424086 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6692 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1342840 bytes application/pdf application/pdf ไทย สงขลา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย