ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปิยะ โกยสิน
Other Authors: สุชนา ชวนิชย์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6925
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.6925
record_format dspace
spelling th-cuir.69252008-05-16T08:27:57Z ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง Biology of tunicate Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 for aquaculture ปิยะ โกยสิน สุชนา ชวนิชย์ วรณพ วิยกาญจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ เพรียงหัวหอม -- การเพาะเลี้ยง การเพาะเลี้ยง (ชีววิทยา) สัตว์ทะเล วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ทำการศึกษาชีววิทยาเพื่อการเพาะเลี้ยงเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 ซึ่งพบบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดภูเก็ต เพรียงหัวหอมชนิดนี้ให้สารกลุ่ม Ecteinascidins ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาเป็นยาบำบัดมะเร็ง จากการศึกษาพบว่า พัฒนาการหลังการลงเกาะของตัวอ่อน (Tadpole) E. thurstoni สามารถพัฒนาเข้าสู่ตัวอ่อนระยะวัยรุ่น (Juvenile) ภายใน 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ ตัวอ่อนที่ผ่านการกระตุ้นด้วยน้ำจืดมีพฤติกรรมตอบสนองต่อการลง เกาะพื้นผิวในส่วนที่มืดและสว่างไม่แตกต่างกัน ในขณะที่ตัวอ่อนที่ไม่ผ่านการกระตุ้นมีการลงเกาะบนพื้นผิวในส่วนมืดมากกว่าสว่างแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) อย่างไรก็ตาม ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวอ่อนที่ผ่านการกระตุ้นและไม่ผ่านการกระตุ้นในการลงเกาะพื้นผิวทั้งสอง การเลี้ยงตัวอ่อนในระบบเลี้ยงในห้องปฏิบัติการพบว่า ตัวอ่อนสามารถเจริญเติบโตได้จนถึงอายุ 14 วัน ซึ่งมีขนาดความยาวสูงสุดโดยเฉลี่ย 0.27 +- 0.02เซนติเมตร แตกต่างจากการเลี้ยงในทะเลที่สามารถเติบโตได้จนถึง 36 วัน ขนาดความยาวสูงสุดโดยเฉลี่ย 0.82 +- 0.06 เซนติเมตร ทั้งนี้ E. thurstoni ที่เลี้ยงในทะเลสามารถเพิ่มจำนวนโดยการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ภายหลังการลงเกาะ 20 วัน อย่างไรตาม ช่วงชีวิตของ E. thurstoni ภายหลังการลงเกาะที่ได้จากการนำโคโลนีธรรมชาติมาทำการเลี้ยงในระบบเลี้ยงบนบกและเปรียบเทียบกับการเลี้ยงตามธรรมชาติในทะเล พบว่า E. thurstoni มีอายุโดยเฉลี่ย 26 วัน และ 61 วัน ตามลำดับ พบแพลงก์ตอนพืช 5 ชนิด ได้แก่ Gyrosigma sp., Pleurosigma sp., Thalassionema sp., Guinardia sp. และ Chaetoceros sp. เป็นองค์ประกอบของอาหารของเพรียงหัวหอม แต่ไม่พบความแตกต่างของสารอินทรีย์ที่พบในทางเดินอาหาร เมื่อเปรียบเทียบกับสารอินทรีย์ที่แขวนลอยในมวลน้ำบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัยจากการวิเคราะห์อัตราส่วนของคาร์บอน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน The biology of the colonial tunicate Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 found in the Andaman Sea, Phuket Province, Thailand was investigated for culture purpose. This tunicate produces Ecteinascidins, which can be a potential drug for cancer treatment. The development of E. thurstoni showed that tadpole larvae developed and metamorphosed into the juvenile stage within 24 hours. The tadpole larvae, which were stimulated for setting with freshwater showed no difference of settlement on dark and light areas (P>0.05) while those non-stimulated tadpoles, showed statistically difference (P>0.05). However, there was no difference on the interaction between stimulated and non-stimulated tadpole larvae on dark and light areas of settlement (p>0.05). For rearing experiment, the tadpole larvae could be raised 14 days in the land-based rearing tank with an average size of 0.27 +- 0.02 cm. However, tadpole larvae in the sea could be raised for 36 days with an average size of 0.82 +- 0.06 cm, with an asexual reproduction took place after 20 days of the settlement. The life span after settlement of E. thurstoni raised in the rearing tank and in the sea was 26 and 61 days, respectively. In addition, stomach content analysis showed that five genera of phytoplankton were found. These included Gyrosigma sp., Pleurosigma sp., Thalassionema sp., Guinardia sp., and Chaetoceros sp. However, there was no difference of organic contents found in the stomach compared to suspension organic particles in the sea, using CHN ratio method. 2008-05-16T08:27:56Z 2008-05-16T08:27:56Z 2548 Thesis 9745329088 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6925 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2578579 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เพรียงหัวหอม -- การเพาะเลี้ยง
การเพาะเลี้ยง (ชีววิทยา)
สัตว์ทะเล
spellingShingle เพรียงหัวหอม -- การเพาะเลี้ยง
การเพาะเลี้ยง (ชีววิทยา)
สัตว์ทะเล
ปิยะ โกยสิน
ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 สุชนา ชวนิชย์
author_facet สุชนา ชวนิชย์
ปิยะ โกยสิน
format Theses and Dissertations
author ปิยะ โกยสิน
author_sort ปิยะ โกยสิน
title ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
title_short ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
title_full ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
title_fullStr ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
title_full_unstemmed ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม Ecteinascidia thurstoni Herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
title_sort ชีววิทยาของเพรียงหัวหอม ecteinascidia thurstoni herdman, 1891 เพื่อการเพาะเลี้ยง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6925
_version_ 1681410353901076480