ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6947 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.6947 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.69472008-05-21T04:01:56Z ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี Concerted effort to set and license interface and compatibility standard : a case study of DVD format standard ฐาปณัฐ สาระสมบัติ ศักดา ธนิตกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ กฎหมายป้องกันการผูกขาด พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 การถ่ายทอดเทคโนโลยี -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กลุ่มบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม การมาตรฐาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เทคโนโลยีดีวีดี -- มาตรฐาน วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ในอุตสาหกรรมจำนวนมากที่ถูกขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ผู้ประกอบการอาจร่วมมือกันกำหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อและความเข้ากันได้ขึ้นมาใช้ร่วมกันแทนที่จะทำการแข่งขันกันหรือใช้กระบวนการกำหนดมาตรฐานอย่างเป็นทางการ พฤติกรรมเช่นนี้ส่งผลกระทบต่อการแข่งขันในตลาดทั้งในด้านบวกและในด้านลบอันเนื่องมาจากคุณลักษณะของอุตสาหกรรมแบบเครือข่าย แม้ว่ามาตรฐานจะมีประโยชน์ต่อการทำงานร่วมกันของผลิตภัณฑ์ต่างๆแต่ในขณะเดียวกันก็เกิดเป็นประเด็นปัญหาทางกฎหมายการแข่งขันทางการค้าในหลายประการ และมาตรฐานก็ถูกนำมาใช้เป็นกลยุทธ์สำหรับการแข่งขันสมัยใหม่มากขึ้น เมื่อประกอบกับปัญหาจากสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสิทธิบัตร) และการใช้การอนุญาตให้ใช้สิทธิแบบหลายฝ่ายเพื่อส่งเสริมมาตรฐานใหม่ๆ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำข้อตกลงใช้สิทธิบัตรร่วมกัน) ที่สามารถทำให้ผู้ทรงสิทธิเข้าไปมีอำนาจควบคุมเหนือมาตรฐานและใช้อำนาจเหนือตลาดที่เพิ่มมากขึ้นนั้นกระทำต่อคู่แข่งขันของตนเอง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้าที่มีต่อปัญหาต่างๆดังกล่าว ผลจากการศึกษาพบว่ากฎหมายการแข่งขันทางการค้ามีบทบาทเพื่อให้แน่ใจได้ว่าผู้ประกอบการที่มีอำนาจเหนือตลาดจะไม่ใช้อำนาจตลาดเพื่อประโยชน์ในการรักษาอำนาจตลาดของตนเองด้วยการขัดขวางกระบวนการพัฒนาทางเทคโนโลยีใหม่ๆมิให้เข้าสู่ตลาด และมาตรฐานที่ถูกจัดตั้งนั้นเปิดกว้างสำหรับการนำไปใช้ได้โดยไม่ถูกจำกัดอย่างไม่เป็นธรรม สำหรับประเทศไทย พ.ร.บ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 ได้ห้ามการร่วมกันกำหนดมาตรฐานดังกล่าวแม้ว่าจะมีเหตุผลอันสมควรและอาจเป็นประโยชน์ต่อการแข่งขันในภาพรวมก็ตาม และพ.ร.บ.สิทธิบัตร พ.ศ.2522 มิได้มีบทกำหนดให้ผู้ทรงสิทธิบัตรอนุญาตให้ใช้สิทธิบัตรสำหรับมาตรฐานโดยยุติธรรมเนื่องจากยินยอมให้กำหนดเงื่อนไขถ่ายทอดกลับแบบเด็ดขาดซึ่งสามารถขัดขวางการพัฒนามาตรฐานทางเลือกขึ้นมาทดแทนมาตรฐานเดิมซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวทางที่ใช้ในต่างประเทศที่ได้ศึกษา In many industries which are driven by innovation and experiencing rapid technological change, firms may cooperate to set product interface and compatibility standard instead of competing in format war or using formal standard-setting process. This practice impacts on market competition, both positive and negative, by features of network industry. Such standards facilitate interoperability but also raise antitrust issues and become more strategic in modern competition. Furthermore the intellectual property rights (particularly patent) and the use of multiparty licensing (particularly patent pool) to promote new standard can enable the holder to gain control over standard and exercise market power, which will greatly be amplified, against its rivals. This thesis is aimed at the study of the proper antitrust treatment upon those issues. The result shows that the antitrust law's role is to ensure that incumbent firms do not use their power to maintain its monopoly by blocking technological progress and such standard is opened for usable without undue restriction. For Thailand, the Competition Act B.E. 2542 prohibits cooperative standard-setting even with reasonable cause and tends to be procompetitive. Also, the Patent Act B.E. 2522 does not require patent holders to license on fairness by permits exclusive grant-back provision that can block the development of alternative standards which does not correspond to the studied of foreign countries' approach. 2008-05-21T04:01:55Z 2008-05-21T04:01:55Z 2548 Thesis 9745329649 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6947 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2293260 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
กฎหมายป้องกันการผูกขาด พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 การถ่ายทอดเทคโนโลยี -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กลุ่มบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม การมาตรฐาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เทคโนโลยีดีวีดี -- มาตรฐาน |
spellingShingle |
กฎหมายป้องกันการผูกขาด พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 การถ่ายทอดเทคโนโลยี -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ กลุ่มบริษัท -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม การมาตรฐาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เทคโนโลยีดีวีดี -- มาตรฐาน ฐาปณัฐ สาระสมบัติ ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
author2 |
ศักดา ธนิตกุล |
author_facet |
ศักดา ธนิตกุล ฐาปณัฐ สาระสมบัติ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ฐาปณัฐ สาระสมบัติ |
author_sort |
ฐาปณัฐ สาระสมบัติ |
title |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
title_short |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
title_full |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
title_fullStr |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
title_full_unstemmed |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
title_sort |
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการรวมตัวของผู้ประกอบการในการกำหนดและอนุญาตให้ใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อและมาตรฐานความเข้ากันได้ : กรณีศึกษามาตรฐานระบบดีวีดี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6947 |
_version_ |
1681409687636934656 |