ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย

ดีไนทริฟายอิ้งแบคทีเรีย (Denitrifying bataria) ที่ได้คัดเลือกจากดินบริเวณพื้นที่ป่าโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี กองการเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานทหารพัฒนา หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา จังหวัดกาญจนบุรี ทั้งหมด 16 ไอโซเลต จากการจำแนกด้วยวิธีทางชีวเคมีด้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7034
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7034
record_format dspace
spelling th-cuir.70342008-05-28T03:46:11Z ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย Molecular gentics relation among denitrifying bacteria from PCR-RFLP analysis of nitrite reductase genes วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ ดีไนตริฟิเคชัน แบคทีเรีย ดีไนทริฟายอิ้งแบคทีเรีย (Denitrifying bataria) ที่ได้คัดเลือกจากดินบริเวณพื้นที่ป่าโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี กองการเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานทหารพัฒนา หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา จังหวัดกาญจนบุรี ทั้งหมด 16 ไอโซเลต จากการจำแนกด้วยวิธีทางชีวเคมีด้วยชุดทดสอบ API พบว่าได้แบคทีเรียจากทั้งหมด 6 สกุล คือ Pseudomonas Alicaligenes Burkholderia Agrobacterium Corynebacterium และ Micrococcus จากการตรวจสอบยีนโดยเทคนิค พีซีอาร์ (PCR) พบว่ามี 9 ตัวอย่างที่มียีนเป็น nirK และ 4 ตัวอย่างที่มียีนเป็น nirS ส่วนอีก 3 ตัวอย่างไม่สามารถตรวจสอบยีนได้ ผลการวิเคราะห์อาร์เอฟแอลพีสามารถแบ่งกลุ่มแบคทีเรียที่มียีน nirK ได้ 2 กลุ่มใหญ่ และยีน nirS ได้ 3 กลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับการจำแนกชนิดของแบคทีเรียด้วยวิธีทางชีวเคมี Denitrifying bacteria were screened from soil specimens in the area of Plant Germplasm-Royal Initiation project in Kanchanaburi Province. It was found that 16 bacterial isolates were capable of denitrification. These bacterial isolates were identified by biochemical method, using API system. Six genera were identified, namely Pseudomonas, Alcaligences, Burkholderia, Agrobacterium, Corynebacterium and Micrococcus. These bacterial isolates were then detected for nitrite reductase genes by PCR technique. Nine isolates were found to contain nirK gene while the other four contained nirS gene. Three isolate could not be detected. Results from RFLP analysis could separate bacteria that contained nirK gene into 2 major groups and those with nirS gene into 3 groups which agree with the bacteria classification by biochemical method. ทุนวิจัยกองทุนรัชาภิเษกสมโภช 2008-05-28T03:46:10Z 2008-05-28T03:46:10Z 2548 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7034 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2657633 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ดีไนตริฟิเคชัน
แบคทีเรีย
spellingShingle ดีไนตริฟิเคชัน
แบคทีเรีย
วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
description ดีไนทริฟายอิ้งแบคทีเรีย (Denitrifying bataria) ที่ได้คัดเลือกจากดินบริเวณพื้นที่ป่าโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี กองการเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานทหารพัฒนา หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา จังหวัดกาญจนบุรี ทั้งหมด 16 ไอโซเลต จากการจำแนกด้วยวิธีทางชีวเคมีด้วยชุดทดสอบ API พบว่าได้แบคทีเรียจากทั้งหมด 6 สกุล คือ Pseudomonas Alicaligenes Burkholderia Agrobacterium Corynebacterium และ Micrococcus จากการตรวจสอบยีนโดยเทคนิค พีซีอาร์ (PCR) พบว่ามี 9 ตัวอย่างที่มียีนเป็น nirK และ 4 ตัวอย่างที่มียีนเป็น nirS ส่วนอีก 3 ตัวอย่างไม่สามารถตรวจสอบยีนได้ ผลการวิเคราะห์อาร์เอฟแอลพีสามารถแบ่งกลุ่มแบคทีเรียที่มียีน nirK ได้ 2 กลุ่มใหญ่ และยีน nirS ได้ 3 กลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับการจำแนกชนิดของแบคทีเรียด้วยวิธีทางชีวเคมี
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
format Technical Report
author วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
author_sort วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล
title ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
title_short ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
title_full ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
title_fullStr ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
title_sort ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลในแบคทีเรียกลุ่มดีไนตริไฟเออร์จากการวิเคราะห์ไนไทรท์รีดักเทสยีนโดยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์เอฟแอลพี : รายงานวิจัยผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7034
_version_ 1681409581385777152