การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ภัทรธิดา สงวนหมู่
Other Authors: ยง ภู่วรวรรณ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7075
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7075
record_format dspace
spelling th-cuir.70752008-05-29T01:47:25Z การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย Serum CTGF level and polymorphisms in Thai children with biliary atresia ภัทรธิดา สงวนหมู่ ยง ภู่วรวรรณ ไพศาล เวชชพิพัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ท่อน้ำดีตีบตัน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 Connective tissue growth factor (CTGF) เป็นโปรตีนที่พบว่ามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเกิดพังผืดโดยพบว่ามีการแสดงออกเพิ่มขึ้นในอวัยวะที่มีการสะสมของพังผืดรวมไปถึงตับด้วย ผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันภายหลังจากการทำผ่าตัดแบบ Kasai แล้วมีการพัฒนาของพังผืดในตับมีระดับที่ไม่เท่ากัน single-nucleotide polymorphisms (SNPs) ในบริเวณ promoter ของยีน CTGF ตำแหน่งที่มี transcription factor มาจับได้แก่ -447G>C และ -132C>G อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกับโรคท่อน้ำดีตีบตันและการพัฒนาของระดับพังผืดในผู้ป่วยที่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นจึงทำการศึกษา polymorphism ในตำแหน่งดังกล่าวในกลุ่มผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันจำนวน 84 คน และกลุ่มควบคุม 142 คน เพื่อศึกษาความถี่ของ polymorphism และ haplotype ในบริเวณ promoter ของยีน CTGF รวมไปถึงระดับของซีทีจีเอฟในเลือดร่วมกับระดับความรุนแรงการทำงานของตับในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมในประชากรไทย โดยทำการเพิ่มจำนวนชิ้นส่วน promoter ของยีน CTGF แล้วนำไปวิเคราะห์ด้วยวิธี Amplification- refractory mutation systems (ARMS) และ polymerase chain reaction-restriction fragment length polymorphism (RFLP) ทางสถิติทำการตรวจสอบระดับของ CTGF ในเลือดด้วยวิธี Enzyme link Immunosorbent assay (ELISA) ทำการตรวจสอบ Hardy-Weinberg equilibrium ด้วยโปรแกรม SNPAnalyzer วิเคราะห์สถิติด้วยโปรแกรม SPSS และ Epi Info version 6 ผลการทดลองพบว่าเมื่อทำการตรวจสอบ polymorphisms ในตำแหน่ง -447G>C และ -132C>G พบ polymorphism ในประชากรไทยเพียงตำแหน่งเดียวคือ ตำแหน่ง -447G>C พบความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญระหว่างความถี่ genotype allele และเพศระหว่างกลุ่มผู้ป่วยกับกลุ่มควบคุมหรือในกลุ่มผู้ป่วยโรคท่อน้ำดีตีบตันด้วยกัน สำหรับระดับของ CTGF ในเลือดไม่สามารถตรวจได้เนื่องจากไม่สามารถหาค่าปริมาณโปรตีนที่แท้จริงได้ทำให้ยากต่อการตรวจด้วยวิธี ELISA จำเป็นที่จะต้องพัฒนาวิธีการเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการตรวจระดับโปรตีนต่อไป โดยสรุปคือ SNP ใน promoter ของยีน CTGF ตำแหน่ง -447 ไม่มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการเกิดโรคและระดับความรุนแรงของการทำงานของตับ Connective tissue growth factor (CTGF) is a highly profibrogenic molecule, which is overexpressed in many fibrotic organs, including those of the liver. Biliary atresia (BA) patients who receive Kasai operation have variable fibrosis levels in their livers. Single-nucleotide polymorphisms (SNPs) in the CTGF gene promoter (-447G>C and -132C>G) may be associated with BA and the variable fibrosis levels in the patients. This study was performed to determine the frequencies of polymorphisms and haplotype in the CTGF gene promoter in the Thai population and to investigate the susceptibility of this population to BA. The target fragments of the CTGF gene promoter were amplified and analyzed by Amplification-refractory mutation systems (ARMS) and polymerase chain reaction-restriction fragment length polymorphism techniques in 84 BA patients and 142 healthy controls. The test for Hardy-Weinberg equilibrium was performed using HWE program of SNPAnalyzer and statistical analysis was carried out with the SPSS and Epi Info version 6 programs. Two SNPs were genotyped, both of them in the promoter region (-447G>C and -132C>G). There is only one SNP at the position -447 in the Thai population. No significant differences in genotype and allele frequency were observed between BA and controls or with BA subgroups. In this experiment, serum CTGF levels in patients cannot be distinguished from the control group because the system of ELISA technique was not optimized. In conclusion, our population CTGF polymorphism at -447G>C is not involved with BA and susceptibility of the host 2008-05-29T01:47:24Z 2008-05-29T01:47:24Z 2548 Thesis 9741742975 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7075 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1778954 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ท่อน้ำดีตีบตัน
spellingShingle ท่อน้ำดีตีบตัน
ภัทรธิดา สงวนหมู่
การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 ยง ภู่วรวรรณ
author_facet ยง ภู่วรวรรณ
ภัทรธิดา สงวนหมู่
format Theses and Dissertations
author ภัทรธิดา สงวนหมู่
author_sort ภัทรธิดา สงวนหมู่
title การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
title_short การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
title_full การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
title_fullStr การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
title_full_unstemmed การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
title_sort การศึกษาระดับซีทีจีเอฟในเลือดและปัจจัยทางพันธุกรรมในผู้ป่วยเด็กโรคท่อน้ำดีตีบตันในประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7075
_version_ 1681409300913717248