การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES

วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วราภรณ์ ศรีมูล
Other Authors: วิไลวรรณ อุทุมพฤกษ์พร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7081
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7081
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สารประกอบอาร์เซนิก -- การวิเคราะห์
ปลา
ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี
spellingShingle สารประกอบอาร์เซนิก -- การวิเคราะห์
ปลา
ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี
วราภรณ์ ศรีมูล
การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
description วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 วิไลวรรณ อุทุมพฤกษ์พร
author_facet วิไลวรรณ อุทุมพฤกษ์พร
วราภรณ์ ศรีมูล
format Theses and Dissertations
author วราภรณ์ ศรีมูล
author_sort วราภรณ์ ศรีมูล
title การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
title_short การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
title_full การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
title_fullStr การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
title_full_unstemmed การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES
title_sort การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี hplc/icp-oes
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7081
_version_ 1681410892777914368
spelling th-cuir.70812008-05-29T03:10:56Z การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาด้วยวิธี HPLC/ICP-OES Development of arsenic speciation analysis in fish using HPLC/ICP-OES วราภรณ์ ศรีมูล วิไลวรรณ อุทุมพฤกษ์พร อภิชาติ อิ่มยิ้ม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ สารประกอบอาร์เซนิก -- การวิเคราะห์ ปลา ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 การพัฒนาการวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลา ใช้วิธีการสกัดแบบ solvent extraction แล้วนำไปวิเคราะห์ด้วย HALX/ICP-OES จากการทดลองพบว่า สารผสมระหว่างเมทานอลกับน้ำในอัตราส่วน 3 : 1 โดยปริมาตรสามารถสกัดอาร์เซนิกจากเนื้อปลาได้สูงถึง 91.6% โดยขั้นตอนการสกัดประกอบไปด้วย pre-extraction, sonication, และcentrifugation การวิเคราะห์ด้วย HPLC/ICP-OES ใช้ sodiumdihydrogenphosphate เข้มข้น 5 และ50 mmol/l เป็น mobile phase ทำการชะแบบ three - step elution สามารถแยกอาร์เซนิกได้ 3 รูปแบบ คือ arsenobetaine (AsB), monomethyarsonic acid (MMA) และ inorganic arsenic เมื่อทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการวิเคราะห์ด้วย certified reference material : DORM-2 (dogfish muscle) พบว่า มีค่าเปอร์เซ็นต์กลับคืนเท่ากับ 86.9% ซึ่งจากผลที้ได้ชี้ ให้เห็นว่า วิธีการที้พัฒนาได้ สามารถนำไปวิเคราะห์รูปแบบทางเคมีของอาร์เซนิกในปลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อนำวิธีการ ที้ได้ไปวิเคราะห์ตัวอย่างปลาทะเลและปลา น้ำจืดที่เก็บมาจากจังหวัดจันทบุรี สมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร พบว่า ปริมาณอาร์เซนิกรวมมีค่าอยู่ระหว่าง 3.7 - 29.0 microgram/g dry weight โดย arsenobetaine เป็นรูปแบบที่พบในสัดส่วนสูงที่สุด คือ อยู่ระหว่าง 62.8 - 95.7% ส่วน MMA และ inorganic arsenic พบในปลาน้ำจืด เป็นส่วนใหญ่ อยู่ระหว่าง 3.7 - 10.9 และ 1.7 - 20.3% ตามลำดับ ปริมาณอาร์เซนิกรวมและสัดส่วนของ AsB ในปลาทะเลมีค่าสูงกว่าในปลาน้ำจืด แต่ MMA และ inorganic arsenic จะพบในปลาน้ำจืดมากกว่า เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ และรูปแบบของอาร์เซนิกที่พบกับ พฤติกรรมการกินอาหารและแหล่งที่อยู่ของปลา พบว่า ปลาที่กินพืชหรือกินซากสัตว์ เป็นอาหาร และอาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำมีแนวโน้ม ที่จะพบ MMA และ inorganic arsenic ได้มากกว่า ซึ่งทั้งสองรูปแบบมีความเป็นพิษสูง อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียนเทียบปริมาณอาร์เซนิกรวม ในน้ำและ ในปลาจากจังหวัดจันทบุรี พบว่า ปริมาณอาร์เซนิกรวมในน้ำมีค่าต่ำกว่าในปลา 2-6 เท่า และส่วนใหญ่เป็น inorganic arsenic มากกว่า 80 % แต่จากค่า bioconcentration factor ชี้ให้เห็นว่า ปลาสะสม inorganic arsenic ในเนื้อเยื่อได้ต่ำมาก แต่จะสะสมอาร์เซนิกอินทรีย์ได้ดีที่สุด ทั้งนี้จากการศึกษารูปแบบทางเคมีในปลาพบว่า อาร์เซนิกอินทรีย์เกือบทั้งหมดอยู่ในรูป arsenobetaine. Development of arsenic speciation analysis in fish was performed using solvent extraction with methanol and water mixtue, and then analyzed HPLC/ICP-OES. The result showed high extraction effiency (91.6%) white the ratio of methanol : water 3 : 1 by volume was used. Extraction procedure consisted of pre-extraction, sonication and centrifugation. Extracted solution was further separatid and detdmined by HPLC/ICP-OES using two concentrations of sodiumdihydrogenphospate (5 and 50mmol) as mobile phase with three-step elution. HPLC chromatogram showed successful separation of three arseinc species; arsenobetaine (AsB), monomethylarsonic acid (MMA) and inorganic arsenic. Validation for the Procedure was carried out using certified reference material : DORM-2 (dogfish muscle) with high extraction recovery (86.9%). In conclusion, the developed method can be used to analyze arsenic species in fish tissues effectively. Fish samples from Chanthaburi, Samuthprakarn and Bangkok contained total arsenic whose concentration ranging between 3.7 - 29.0 microgram/g dry weight. AsB was the major arsenic species in all samples, white the trace amount of MMA and inorganic arsenic in some freshwater fish was found (3.7-10.9 and 1.7-20.3% ,respectively). Total arsenic concentration and AsB in marine fish were significantly higher than these in freshwater fish, in contast, MMA and inorganic arsenic were found in most of fresgwater fish. The analysis result showed the relationship between concentration and speciation of arsinic found in fish and its feeding behavior and habitat. Herbivorous or scavenger and demersal fish accumulated probably higher amount of MMA and inoroganic arsenic, which were the more toxic forms. Total concentration of arsenic that 80% was inorganic in water samples from Chanthaburi showed 2-6 times less than that of fish samples, However, bioconcentration factor indicates that fish accumulate AsB better than inorganic arsenic. 2008-05-29T03:10:56Z 2008-05-29T03:10:56Z 2548 Thesis 9745326399 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7081 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1867219 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย