ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ

วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม
Other Authors: มานพ วราภักดิ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7291
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7291
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น)
สถิติวิเคราะห์
การทดสอบไคสแควร์
spellingShingle การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น)
สถิติวิเคราะห์
การทดสอบไคสแควร์
จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม
ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 มานพ วราภักดิ์
author_facet มานพ วราภักดิ์
จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม
format Theses and Dissertations
author จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม
author_sort จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม
title ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
title_short ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
title_full ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
title_fullStr ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
title_full_unstemmed ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
title_sort ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7291
_version_ 1681412300986122240
spelling th-cuir.72912008-06-30T04:53:53Z ขนาดตัวอย่างสำหรับตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงไม่เป็นปกติ Sample size for the chi-square test statistic in the case of nonnormal population จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม มานพ วราภักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) สถิติวิเคราะห์ การทดสอบไคสแควร์ วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาขนาดตัวอย่าง n ที่น้อยที่สุดที่เหมาะสมสำหรับการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบสองด้านโดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][superscript 2] ในกรณีที่ประชากรมีการแจกแจงที่ไม่ใช่การแจกแจงปกติ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาการแจกแจงของประชากร คือ การแจกแจงที การแจกแจงไคกำลังสองการแจกแจงไวบูลล์ และการแจกแจงจอห์นสัน โดยการแจกแจงดังกล่าวได้กำหนดค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ [gamma][subscript 1] และค่าสัมประสิทธิ์ความโด่ง [gamma][subscript 2] ให้มีค่าแตกต่างจากการแจกแจงปกติ เกณฑ์ที่ใช้สำหรับพิจารณาขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสม คือ ความสามารถในการควบคุมความน่าจะเป็นของความผิดพลาดประเภทที่ 1 [alpha] ของการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบสองด้าน โดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][superscript 2] โดยกำหนด [alpha] เป็น 0.01, 0.05 และ 0.10 ในการวิจัยครั้งนี้จำลองสถานการณ์การทดลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โล ซึ่งทำการจำลองซ้ำ 10,000 รอบในแต่ละสถานการณ์ ผลสรุปของการวิจัยมีดังนี้ เมื่อประชากรมีการแจกแจงที่ไม่ใช่การแจกแจงปกติ จะสามารถทำการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบสองด้าน โดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][superscript 2] ได้ เมื่อใช้ขนาดตัวอย่าง n ที่มากพอ ผลการศึกษาได้สรุปเป็นตารางนำเสนอขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมในการใช้งานโดยจำแนกตามค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ ตัวอย่าง [gamma][superscript ^][subscript 1] และค่าสัมประสิทธิ์ความโด่งตัวอย่าง [gamma][superscript ^][subscript 2] ค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ [gamma][subscript 1] จะส่งผลต่อขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมสำหรับการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบสองด้านโดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][superscript 2] ในทิศทางเดียวกัน คือ เมื่อค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้เพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเช่นกัน ค่าสัมประสิทธิ์ความโด่ง [gamma][subscript 2] จะส่งผลต่อขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมสำหรับการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบสองด้านโดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][subscript 2] ในทิศทางเดียวกัน คือ เมื่อค่าสัมประสิทธิ์ความโด่งเพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเช่นกัน ขนาดตัวอย่าง n ที่เหมาะสมจะแปรผกผันกับระดับนัยสำคัญ [alpha] ของการทดสอบ ผลสรุปของขนาดตัวอย่าง n ที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้สามารถใช้สำหรับการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าความแปรปรวนประชากรแบบด้านเดียว โดยใช้ตัวสถิติทดสอบไคกำลังสอง [chi][superscript 2] ได้ The objective of this research is to find the minimum sample size n for two-tailed test of hypothesis about population variance by using the chi-square test statistic [chi][superscript 2] in the case of population distribution is not normal. Populations specified in this study are t distribution, chi-square distribution, Weibull distribution and Johnson distribution. These distributions are defined by coefficient of skewness [gamma][subscript 1] and coefficient of kurtosis [gamma][subscript 2]. In order to obtain the sample size n, we consider the ability of controlling the probability of type I error (alpha) of two-tailed test of hypothesis about population variance by using the chi-square test statistic [chi][superscript 2]. Significance levels [alpha] are 0.01, 0.05 and 0.10. The sample sizes n are found by using the Monte Carlo Simulation technique. This simulation is repeated 10,000 times in each case. The results of this research can be summarized as follows: In the case of population distribution isnot normal, the chi-square test statistic can be used for two-tailed test of hypothesis about population variance when the sample size n is appropriate. The results of this study can be showed the table of sample size n for using, which classified by sample coefficient of skewness [gamma][superscript ^][subscript 1] and sample coefficient of kurtosis [gamma][superscript ^][subscript 2]. The sample size n varies directly to the coefficient of skewness [gamma][subscript 1] for two-tailed test of hypothesis about population variance by using the chi-square test statistic X[superscript 2], which n increases when the coefficient of skewness [gamma][subscript 1] increases. The sample size n varies directly to the coefficient of kurtosis [gamma][subscript 2] for two-tailed test of hypothesis about population variance by using the chi-square test statistic [chi][superscript 2], which n increases when the coefficient of kurtosis [gamma][subscript 2] increases. The sample size n varies indirectly to significance level[alpha]. The result of this study can be used for one-tailed test of hypothesis about population variance by using the chi-square test statistic [chi][superscript 2]. 2008-06-30T04:53:52Z 2008-06-30T04:53:52Z 2548 Thesis 9741737174 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7291 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1564021 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย