กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร

วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์
Other Authors: บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7294
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7294
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การจัดรูปที่ดิน
spellingShingle การจัดรูปที่ดิน
กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์
กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
description วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
author_facet บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์
format Theses and Dissertations
author กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์
author_sort กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์
title กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
title_short กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
title_full กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
title_fullStr กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
title_sort กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7294
_version_ 1681413077893906432
spelling th-cuir.72942008-06-30T05:26:08Z กระบวนการการจัดรูปที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบริเวณสวนหลวง ร. 9 กรุงเทพมหานคร Land readjustment process for housing : a case study of land plots on Suan Luang Rama IX, Bangkok metropolitan administration กิตติ สุขสว่างรุ่งโรจน์ บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย จำเนียร ดุริยประณีต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การจัดรูปที่ดิน วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ที่ดินที่ไม่มีทางเข้าออกสู่ทางสาธารณประโยชน์หรือที่ดินตาบอดนั้น ถือเป็นปัญหาที่มีมาตั้งแต่อดีต ซึ่งมีผลทำให้การพัฒนาพื้นที่เมือง ทำได้อย่างไม่เต็มศักยภาพของพื้นที่ การจัดรูปที่ดินเป็นวิธีการที่สามารถแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี มีความเป็นธรรมและประหยัดงบประมาณมากกว่าการใช้วิธีการเวนคืนที่ดิน โครงการจัดรูปที่ดินบริเวณ สวนหลวง ร.9 เป็นโครงการนำร่องที่อยู่ภายใต้การผลักดัน สนับสนุนจากสำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ได้มีการเริ่มดำเนินการ เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2542 จนถึงปัจจุบัน เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินไม่มีทางเข้าออก (ที่ดินตาบอด) สำหรับการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่นั้นถือเป็นวิธีการพัฒนาเมืองที่เจ้าของที่ดินมีส่วนร่วมอยู่ในทุกขั้นตอน และในการที่จะสามารถดำเนินโครงการได้นั้น โดยหลักการแล้วเจ้าที่ดินทุกรายจะต้องมีเจตจำนงเห็นชอบแล้วเข้าร่วมโครงการ ซึ่งปัจจุบันเจ้าของที่ดินในโครงการบางรายยังไม่เห็นชอบเข้าร่วมโครงการ จึงทำให้การดำเนินโครงการ ณ ปัจจุบันยังล่าช้า วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการจัดรูปที่ดิน และปัญหาหรืออุปสรรคที่ทำให้การดำเนินโครงการจัดรูปที่ดิน บริเวณสวนหลวง ร.9 กรุงเทพมหานคร นั้นล่าช้า ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการจัดรูปที่ดิน โครงการบริเวณสวนหลวง ร.9 กรุงเทพมหานครสามารถแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1. ขั้นตอนการเตรียมโครงการ 2. ขั้นตอนการวางแผนดำเนินงานและออกแบบวางผัง 3. ขั้นตอนการก่อสร้าง และ 4. ขั้นตอนสุดท้าย (การโอนกรรมสิทธิ์และบริหารโครงการเบื้องต้น) ปัจจุบันการดำเนินโครงการอยู่ในขั้นตอนที่ 2 ในช่วงเจรจาทำความเข้าใจและรอเจตจำนงเข้าร่วมโครงการจากเจ้าของที่ดินในโครงการบางรายที่ยังไม่เข้าร่วม ในส่วนของปัญหาหรืออุปสรรคที่ทำให้การดำเนินโครงการล่าช้าได้แบ่งเป็น 3 ปัญหาหลัก ได้แก่ 1. ปัญหาด้านความร่วมมือ 2. ปัญหาด้านการดำเนินงาน 3. ปัญหาด้านกฎหมาย ซึ่งปัญหาหลักที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อการดำเนินโครงการคือ ปัญหาความร่วมมือ ในเรื่องการแสดงเจตจำนงเข้าร่วมโครงการที่เจ้าของที่ดินบางรายยังไม่ตัดสินใจเข้าร่วม ซึ่งมีผลมาจากอัตราการปันส่วนที่ดินเป็นสำคัญ จากการดำเนินการที่ผ่านมาได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ด้วยการเจรจา ทำความเข้าใจ และเสนอผังแนวความคิดออกมาในหลายรูปแบบ แต่ยังไม่สามารถทำให้เจ้าของที่ดินทุกรายตัดสินใจเข้าร่วมโครงการได้ จากการศึกษากระบวนการและปัญหาที่ทำให้การดำเนินโครงการจัดรูปที่ดินล่าช้านั้น สามารถวิเคราะห์และหาข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินโครงการ แบ่งเป็น 3 ด้านหลักได้แก่ 1.เจ้าของที่ดินในโครงการควรมีการรวมตัวประชุมกลุ่มย่อย 2. เจ้าหน้าที่ควรทำความเข้าใจ รายละเอียดต่างๆของการจัดรูปที่ดินอย่างชัดเจน ต่อเจ้าของที่ดินมากขึ้น 3.ภาครัฐบาลควรมีการสนับสนุนอย่างจริงจังและเร่งดำเนินการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดรูปที่ดิน ที่ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินการ The land pocket has been a problem for land development because it cannot be fully developed according to its potential. Land readjustment is a solution to this problem in terms of fairness and saving budget. This method is better than land expropriation. Land readjustment of Suan Luang Rama IX is a pilot project urged by the Department of City Planning, Bangkok Metropolitan Administration. The project began in 1999 to solve the problem about land pockets. To carry out this project, the landowners have to participate and be committed. However, some do not agree to the project; as a result, the project cannot progress as planned. The objectives of this thesis are to study the land readjustment process and to study problems causing the tardiness of Suan Luang Rama IX project. It is found that the land readjustment of Suan Luang Rama IX process can be divided into 4 phases: 1. project preparation, 2. operation planning and housing design, 3. construction and 4. ownership transfer and project administration. Atpresent, the project is in phase 2 which involves discussion with the landowners and acceptance of some landowners who do not want to participate in the project. The problems for the delay can be classified into 3 types: 1. cooperation, 2. operation and 3. lawsuits which are the major factor resulting in the delay of the project. As for cooperation, some landowners still do not want to participate in the project resulting mainly from the division of land. The Department tries to solve the problems by negotiating with the owners and offering various guidelines; however, some still do not want to participate in the project. To solve all four problems, 3 recommendations are proposed as follows. 1. The land owners should have a small meeting among themselves. 2. The officials should have a clear understanding about land readjustment and realize the needs of the land owners. 3. The government should support this project in earnest and pass the related laws as quickly as possible. 2008-06-30T05:26:07Z 2008-06-30T05:26:07Z 2548 Thesis 9741738617 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7294 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6038879 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย