การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กรรณิการ์ เจนพึ่งพร
Other Authors: เพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7320
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7320
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย
หลักสูตร
การศึกษาขั้นประถม -- หลักสูตร
spellingShingle กองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย
หลักสูตร
การศึกษาขั้นประถม -- หลักสูตร
กรรณิการ์ เจนพึ่งพร
การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
author2 เพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา
author_facet เพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา
กรรณิการ์ เจนพึ่งพร
format Theses and Dissertations
author กรรณิการ์ เจนพึ่งพร
author_sort กรรณิการ์ เจนพึ่งพร
title การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
title_short การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
title_full การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
title_fullStr การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
title_full_unstemmed การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
title_sort การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7320
_version_ 1681411230089084928
spelling th-cuir.73202008-06-30T09:50:26Z การใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย The implementation of elementary school curriculum B.E. 2521 (revised edition B.E. 2533) in schools under the jurisdiction of the Department of Education, the Church of Christ Foundation in Thailand กรรณิการ์ เจนพึ่งพร เพิ่มเกียรติ ขมวัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย กองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย หลักสูตร การศึกษาขั้นประถม -- หลักสูตร วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 ศึกษาสภาพและปัญหาการใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ในโรงเรียนสังกัดกองการศึกษามูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน โรงเรียนมีการวางแผนการใช้หลักสูตร ผู้บริหารและครูผู้สอนศึกษารายละเอียดของหลักสูตรโดยการเข้ารับการฝึกอบรม และการเข้าร่วมสัมมนา มีการจัดเตรียมบุคลากร จัดเตรียมสถานที่ จัดหาวัสดุหลักสูตรไว้บริการแก่ครูผู้สอน จัดให้มีการนิเทศติดตามผล และประเมินผลการปฏิบัติการสอนของครู มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ส่วนปัญหาที่พบส่วนใหญ่ คือ ความไม่พร้อมของโรงเรียนในด้านบุคลากร อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณไม่เพียงพอ 2. การจัดปัจจัยและสภาพแวดล้อมต่างๆ ภายในโรงเรียน โรงเรียนเตรียมบุคลากร โดยส่งครูเข้ารับการฝึกอบรม มีการจัดตารางสอน จัดครูเข้าสอน โดยคำนึงถึงความรู้และประสบการณ์ของครู เตรียมอาคารสถานที่สำหรับการใช้หลักสูตร นิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร และประชาสัมพันธ์หลักสูตร โดยการประชุมชี้แจงให้ครูผู้สอน/ผู้ปกครอง/ นักเรียนได้เข้าใจ ปัญหาที่พบคือ ครูขาดความรู้ และทักษะในการสอน ครูไม่เห็นความสำคัญของการนิเทศ และผู้รับการนิเทศไม่เปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอน 3. การจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนเตรียมการสอน โดยการศึกษารายละเอียดของหลักสูตร จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการใช้กระบวนการ 9 ชั้น โดยเลือกเทคนิคให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเนื้อหา มีการวัดและประเมินผลการเรียน ครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอน Studies the state and problems concerning the implementation of Elementary School Curriculum B.E. 2521 (Revised Edition B.E. 2533) in schools under the jurisdiction of the Department of Education, the Church of Christ Foundation in Thailand. The target populations of the study were school administrators and teachers. Instruments used were questionnaire. The data were analyzed by means of frequency distribution and percentage. The results were as follows : 1. Concerning curriculum application to teaching, there was curriculum implementation planning. School administrators and teachers studied details of the curriculum by attend training program and seminars, providing personnel, building facilities, curriculum materials for teachers, supervision, monitoring and evaluation on teachers. Public relations activities were also carried out. The problems found were that school were not ready in terms of personnel, building facilities, materials/equipment, and budget. 2. In managing the factors and environment in school, teacher were assigned according to their knowledge and experiences, The school provided school personnel to attend training, class schedules, building facilities prepared for curriculum, follow-up supervision and public relations by the meetings with teachers, parents and students were conducted so that the curriculum would be informed and explained to them. The problems were insufficient knowledge and skills in teaching among teachers, school personnel did not realize the importance in supervising and some teachers did not change their teaching behaviors. 3. Regarding to instructional organization, teachers prepared their lesson plans by studying the the curriculum in detail, doing each lesson plan with activities in the nine steps of teaching procedure. They chose the right techniques for the objective and contents of each lesson plan including the evaluation. According to this study most teachers did not have any problems in the instructional management. 2008-06-30T09:50:25Z 2008-06-30T09:50:25Z 2539 Thesis 9746358413 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7320 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 806511 bytes 782931 bytes 1195408 bytes 718285 bytes 1106068 bytes 812906 bytes 1024529 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย