แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7521 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.7521 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การเก็บขยะ -- ไทย การกำจัดขยะ -- ไทย กรุงเทพฯ -- เขตบางกะปิ |
spellingShingle |
การเก็บขยะ -- ไทย การกำจัดขยะ -- ไทย กรุงเทพฯ -- เขตบางกะปิ ชัชชญา ตั้งจิตวิทยา แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
description |
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 |
author2 |
สุวัฒนา ธาดานิติ |
author_facet |
สุวัฒนา ธาดานิติ ชัชชญา ตั้งจิตวิทยา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ชัชชญา ตั้งจิตวิทยา |
author_sort |
ชัชชญา ตั้งจิตวิทยา |
title |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
title_short |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
title_full |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
title_fullStr |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
title_full_unstemmed |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
title_sort |
แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7521 |
_version_ |
1681410269882875904 |
spelling |
th-cuir.75212008-07-11T08:13:05Z แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร Guidelines for increasing the solid waste collection capacity of Bangkok Noi district, Bangkok ชัชชญา ตั้งจิตวิทยา สุวัฒนา ธาดานิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การเก็บขยะ -- ไทย การกำจัดขยะ -- ไทย กรุงเทพฯ -- เขตบางกะปิ วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 เขตบางกอกน้อยเป็นเขตที่ตั้งอยู่พื้นที่ชั้นในย่านฝั่งธนบุรี มีความหนาแน่นประชากรสูง คือ 12,001-18,000 คนต่อตารางกิโลเมตร มีคลองที่สามารถใช้เป็นเส้นทางคมนาคมหลักได้ 3 เส้นทาง ได้แก่ คลอง บางกอกน้อย คลองชักพระ และคลองมอญ การตั้งถิ่นฐานเป็นแบบขยายตัวตามธรรมชาติตามเส้นทางคลอง และถนน ทำให้การตั้งบ้านเรือนเป็นแบบไม่มีระเบียบ ประสบปัญหาความไม่สะดวกในเรื่องสาธารณะต่างๆ มีซอยแคบ ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งของการจัดเก็บขยะ ในปัจจุบันเขตฯมีขยะตกค้าง 77 ตัน คิดเป็นร้อยละ 23.92 ของปริมาณขยะ ทั้งหมดต่อวัน อีกทั้งจากการสำรวจเบื้องต้น พบว่า ประชาชนมีความต้องการความช่วย เหลือให้แก้ไขปัญหาจากหน่วยงานราชการในเรื่องสาธารณูปโภค อันดับ 1 คือ เรื่องขยะ จึงจำเป็นต้องศึกษา แนวทางการเพิ่มความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ขอบเขตการศึกษา คือ พื้นที่เขตบางกอกน้อย รวมทั้งสิ้น 11.944 ตารางกิโลเมตร โดยมีกรอบแนวคิดของการศึกษาว่าการเพิ่ม ความสามารถในการจัดเก็บขยะมูลฝอยได้นั้นจะต้องพิจารณาจากพฤติกรรมของประชาชน การดำเนินการ ของเขตฯ และเทคนิควีธีการในการจัดเก็บขยะของเขตบางกอกน้อย สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้มุ่งเน้น ประเด็น พฤติกรรมของประชาชนและการปฏิบัติงานบริการการจัดเก็บขยะของเขต ผลการศึกษา พบว่า เส้นทางการจัดเก็บของเขตมีความครอบคลุมพื้นที่ทั้งทางรถและทางเรือ แต่ปัญหาที่ทำให้การจัดเก็บไม่ ทั่วถึง คือ ด้านกายภาพ ได้แก่ ปัญหาการขยายตัวของชุมชน ทำให้เกิดตรอกซอกซอยมากขึ้น ปัญหาการ จราจร สภาพถนน ซอยที่คับแคบ ด้านการบริหารงาน ได้แก่ คนงานที่ทำหน้าที่เก็บขนมีจำนวนน้อย การจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอ ด้านอุปกรณ์ เช่น รถและเรือที่ชำรุดเสียหาย ถังขยะไม่ทั่วถึง และด้าน ความร่วมมือของประชาชนยังมีน้อย โดยเฉพาะการนำขยะมาทิ้งที่จุดกำหนดในบริเวณพื้นที่ระหว่าง คลองและถนน จึงมีข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มความสามารถไว้ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนเส้นทางให้เหมาะสมกัน ทั้งทางรถและทางเรือ โดยส่งเสริมการจัดเก็บทางเรือมากขึ้นในคลองบางกอกน้อย คลองชักพระ และ คลองมอญ กำหนดที่ทิ้งรวบบริเวณคลอง กำหนดให้มีคนชักลากของชุมชน โดยชุมชนเป็นผู้จัดการ ปรับเปลี่ยนขนาดรถให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และปริมาณขยะ โดยใช้รถขนาดเล็กลงในบริเวณซอยแคบ และในพื้นที่ที่มีขยะไม่มากที่สำคัญ ได้แก่ ซอยจรัญสนิทวงศ์ 21 ซอยภุมริน และซอยบุญพงษา กำหนดจุดตั้ง ถังแยกขยะ เปลี่ยนถังขยะส่วนบุคคลให้มีน้ำหนักเบาลงแต่มีขนาดบรรจุเพิ่มขึ้น ถังขยะรวมสำหรับพื้นที่ชุมชนขนาดใหญ่ ควรเป็นถังขยะรวมที่สามารถยกเปลี่ยนได้จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ เพื่อเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอยให้ดียิ่งขึ้น แนวทางที่ได้นำเสนอนั้นจะเป็นส่วนสนับสนุนให้พฤติกรรมการทิ้งขยะประชาชนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะช่วยทำให้เกิดความร่วมมือในการเก็บขนขยะมูลฝอยที่สะดวกรวดเร็ว และลดจำนวนขยะตกค้างได้ อีกทั้งเป็นแนวทางที่จะช่วยเพิ่มความสามารถของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการจัดเก็บได้ดียิ่งขึ้น คือ สามารถเก็บขยะในพื้นที่ที่เข้าถึงยากได้ง่ายขึ้น ซึ่งเป็นทางหนึ่งที่ช่วยให้จำนวนขยะตกค้างลดลงได้ Bangkoknoi District is located in the area of Thonburi Zone. It was found the high density of population approximately 12,001-18,000/sq.km. Major three routes of canal are used for transportation, it include Bangkoknoi, Chakphra and Mon Canal. The areas of settlement have been rapidly expanded along the canal and roads this created housing sprawl and encountered facilities services. Narrow of Soi, expecially, was one the problem of collecting solid waste. At the present the remains uncollected of waste about 77 tons or 23.92% of all amount of waste/day. In addition, the pre-survey was found the people that they need contribution from government agencies of the first priority issues of solid waste. therefore, the guidelines for increasing the solid waste collection capacity need to be studied to solve an above issue. The scope of study is Bangkoknoi District with total area of 11.944 sq.km. The principle framework for increasing the solid waste collection capacity will consider on behaviors of people, district's implemention and solid waste collection techniques. For this study was focused on behaviors of people and district's solid waste collection working. The results of study found the routes services of solid waste collection are covered by vehicle and boat. However, physical problem as the spreading of the community creating more sub-roads, traffic congestion and administration problem as inadequate collectors, budgets, containers and less of people participation are problems causing solid waste collection especially the area between canal and road. Therefore, the quidelines for increasing the solid waste collection capacity have been provided as the following: appropriate rotes for solid waste collection by vehicle and boat are changed to increasing collection capacity, the collecting by boat in Bangkoknoi, Chakphra and Mon is more promoted, setting the area of bank canal to collection, providing the tugger service in the community by community management, changing size of vehicles which suitable of the area and amount of waste by using small vehicles in narrow of sub-road and less amount of waste especially at Soi Charunsanitwong 21, Soi Poomarin, and Soi Boonpongsa, setting the container places to waste categorize, changing personal container to the lighter but its can contain more volume, containers in large community should be able adjust, and providing financials support for efficiency waste collection working of staff. As all above guidelines, theses will encourage the changing people's behaviors for waste collection and increasing capacity for solid waste collection of staff as easily collected in the difficult areas which can be reduce the remains amount of solid waste. 2008-07-11T08:13:04Z 2008-07-11T08:13:04Z 2548 Thesis 9741423551 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7521 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 14151773 bytes application/pdf application/pdf ไทย กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |