อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย

วัตถุประสงค์: เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถตอบสนองต่อเชื้อแบคทีเรียและไซโตไคน์ ในภาวะที่มีการอักเสบ โดยหลั่งเอนไซม์ เมทริกซ์เมแทโลโปรทีเนส-13 (MMP-13) เพิ่มขึ้น และสร้างโปรตีนนิวเคลียแฟคเตอร์แคปปาบีไลแกนด์ (RANKL) ซึ่งช่วยกระตุ้นการเกิดเซลล์สลายกระดูก (osteoclasts) ร่วมด้วย แต่การเกิดเซลล์สลายกระดูกจำเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ประสิทธิ์ ภวสันต์, ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7864
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7864
record_format dspace
spelling th-cuir.78642008-08-25T04:56:10Z อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย The effect of TNF-Alfla on the expression of MMP-13, RANKL and M-CSF in cultured periodontal ligament cells ประสิทธิ์ ภวสันต์ ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ เอ็นยึดปริทันต์ ไซโตคายน์ โรคปริทันต์อักเสบ วัตถุประสงค์: เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถตอบสนองต่อเชื้อแบคทีเรียและไซโตไคน์ ในภาวะที่มีการอักเสบ โดยหลั่งเอนไซม์ เมทริกซ์เมแทโลโปรทีเนส-13 (MMP-13) เพิ่มขึ้น และสร้างโปรตีนนิวเคลียแฟคเตอร์แคปปาบีไลแกนด์ (RANKL) ซึ่งช่วยกระตุ้นการเกิดเซลล์สลายกระดูก (osteoclasts) ร่วมด้วย แต่การเกิดเซลล์สลายกระดูกจำเป็นต้องมี แมคโครฟาจ-โคโลนี สติมูเลติง แฟคเตอร์ (M-CSF) ร่วมด้วย เราจึงศึกษาว่า เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถสร้าง M-CSF และ MMP-13 ในการตอบสนองต่อไซโตไคน์ที่เกี่ยวกับการอักเสบในรอยโรคปริทันต์ คือ ทูเมอร์เนโครสิส แฟคเตอร์ แอลฟา (TNF[alpha]) หรือไม่ วิธีการวิจัย: กระตุ้นเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ด้วย TNF[alpha] ในอาหารเลี้ยงเซลล์ที่ไม่มีซีรัมศึกษาการแสดงออกของ M-CSF, RANKL และ MMP-13 ด้วยอาร์ที-พีซีอาร์ วิเคราะห์การสร้างโปรตีนด้วยอีไลซาร์ หรือ เวสเทอร์น อนาไลซิส ใช้แอนติบอดีต่อรีเซบเตอร์ของทีเอนเอฟ (TNFR) ในการยับยั้ง เพื่อศึกษาว่าการกระตุ้นเกิดผ่านรีเซบเตอร์ใด ตรวจสอบการเคลื่อนของเซลล์ ผล: TNF[alpha] กระตุ้นการแสดงออกและการสร้างโปรตีนของ M-CSF, RANKL และ MMP-13 ผลต่อ M-CSF และ MMP-13 สามารถถูกยับยั้งบางส่วนได้ด้วย เกลือไพโรลิดีนขไดไธโอคาร์บาเมทแอมโมเนียม (PTDC) และ LY294002 แต่ไม่สามารถยับยั้งด้วย NS398 ผลการกระตุ้นลดลงเมื่อยับยั้ง TNFR1 นอกจากนี้ อาหารเลี้ยงเซลล์ที่เก็บจากเซลล์ที่กระตุ้นด้วย TNF[alpha] มีผลในการดึงดูดการเคลื่อนของเซลล์ RAW264.7 สรุป: เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สร้าง M-CSF, MMP-13 และ RANKL เพิ่มขึ้น ในการตอบสนองต่อ TNF[alpha] การเพิ่มขึ้นของโปรตีนเหล่านี้ น่าจะเป็นกลไกที่เซลล์ใช้ในการมีส่วนร่วมทำลายเนื้อเยื่อปริทันต์ กลไกการกระตุ้นส่วนหนึ่งเกิดผ่าน NFkB และ PI3K โดยผ่านรีเซบเตอร์ที่เป็น TNFR1 Objectives: Human periodontal ligament (HPDL) cells respond to periopathogenic factors and inflammatory cytokines by increasing matrix metalloproteinase-12 (MMP-13) and support osteoclastogenesis by expressing receptor activator of nuclear factor kappa B ligand (RANKL). As osteoclastogenesis requires the presence of macrophage colony-stimulating factor (M-CSF), we examine if HPDL cells secrete M-CSF an MMP-13 in responding to tumor necrosis factor[alpha] . (TNF[alpha]). Methods: Cultured HPDL cells were treated with TNF[alpha] in serum-free condition. The expression of M-CSF and RANKL was determined by Reverse Transcription-Polymerase Chain Reaction (TR-PCR) and Enzyme-Linked Immunosorbent Assay (ELISA), respectively. Inhibitors and anti-TNF receptors (TNFR) neutralizing antibodies were used for the inhibitory experiments. Migration assay was performed. Results: TNF[alpha] up-regulated M-CSF, MMP-13 as well as RANKL in HPDL cells. The effect on M-CSF expression could be partially blocked by pyrrolidine-dithiocarbamate ammonium salt (PTDC) and LY294002 but not by NS398. Neutralizing antibody to TNFR1 could diminish the effect of TNF[alpha]. In addition, TNF-treated culture medium exhibited chemotactic effect for RAW264.7. Conclusion: HPDL cells are capable of secreting M-CASF in addition to expressing RANKL in responding to TNF[alpha]. The up-regulation of M-CSF is possible one of the mechanism that contributes to periodontal tissue destruction in response to inflammatory cytokines. The up-regulation is partly through NFkB and PI3K and possibly involves TNFR1. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-08-25T04:56:09Z 2008-08-25T04:56:09Z 2549 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7864 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1354970 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เอ็นยึดปริทันต์
ไซโตคายน์
โรคปริทันต์อักเสบ
spellingShingle เอ็นยึดปริทันต์
ไซโตคายน์
โรคปริทันต์อักเสบ
ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
description วัตถุประสงค์: เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถตอบสนองต่อเชื้อแบคทีเรียและไซโตไคน์ ในภาวะที่มีการอักเสบ โดยหลั่งเอนไซม์ เมทริกซ์เมแทโลโปรทีเนส-13 (MMP-13) เพิ่มขึ้น และสร้างโปรตีนนิวเคลียแฟคเตอร์แคปปาบีไลแกนด์ (RANKL) ซึ่งช่วยกระตุ้นการเกิดเซลล์สลายกระดูก (osteoclasts) ร่วมด้วย แต่การเกิดเซลล์สลายกระดูกจำเป็นต้องมี แมคโครฟาจ-โคโลนี สติมูเลติง แฟคเตอร์ (M-CSF) ร่วมด้วย เราจึงศึกษาว่า เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สามารถสร้าง M-CSF และ MMP-13 ในการตอบสนองต่อไซโตไคน์ที่เกี่ยวกับการอักเสบในรอยโรคปริทันต์ คือ ทูเมอร์เนโครสิส แฟคเตอร์ แอลฟา (TNF[alpha]) หรือไม่ วิธีการวิจัย: กระตุ้นเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ด้วย TNF[alpha] ในอาหารเลี้ยงเซลล์ที่ไม่มีซีรัมศึกษาการแสดงออกของ M-CSF, RANKL และ MMP-13 ด้วยอาร์ที-พีซีอาร์ วิเคราะห์การสร้างโปรตีนด้วยอีไลซาร์ หรือ เวสเทอร์น อนาไลซิส ใช้แอนติบอดีต่อรีเซบเตอร์ของทีเอนเอฟ (TNFR) ในการยับยั้ง เพื่อศึกษาว่าการกระตุ้นเกิดผ่านรีเซบเตอร์ใด ตรวจสอบการเคลื่อนของเซลล์ ผล: TNF[alpha] กระตุ้นการแสดงออกและการสร้างโปรตีนของ M-CSF, RANKL และ MMP-13 ผลต่อ M-CSF และ MMP-13 สามารถถูกยับยั้งบางส่วนได้ด้วย เกลือไพโรลิดีนขไดไธโอคาร์บาเมทแอมโมเนียม (PTDC) และ LY294002 แต่ไม่สามารถยับยั้งด้วย NS398 ผลการกระตุ้นลดลงเมื่อยับยั้ง TNFR1 นอกจากนี้ อาหารเลี้ยงเซลล์ที่เก็บจากเซลล์ที่กระตุ้นด้วย TNF[alpha] มีผลในการดึงดูดการเคลื่อนของเซลล์ RAW264.7 สรุป: เซลล์เอ็นยึดปริทันต์สร้าง M-CSF, MMP-13 และ RANKL เพิ่มขึ้น ในการตอบสนองต่อ TNF[alpha] การเพิ่มขึ้นของโปรตีนเหล่านี้ น่าจะเป็นกลไกที่เซลล์ใช้ในการมีส่วนร่วมทำลายเนื้อเยื่อปริทันต์ กลไกการกระตุ้นส่วนหนึ่งเกิดผ่าน NFkB และ PI3K โดยผ่านรีเซบเตอร์ที่เป็น TNFR1
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์
ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
format Technical Report
author ประสิทธิ์ ภวสันต์
ทัศนีย์ ยงชัยตระกูล
author_sort ประสิทธิ์ ภวสันต์
title อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
title_short อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
title_full อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed อิทธิพลของ TNF-Alfla ต่อการสร้าง MMP-13, RANKL และ M-CSF ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
title_sort อิทธิพลของ tnf-alfla ต่อการสร้าง mmp-13, rankl และ m-csf ในเซลล์เพาะเลี้ยงเอ็นยึดปริทันต์ : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7864
_version_ 1681411044280369152