การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย

การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนแนวคิดและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่สำคัญทีมีการใช้ใบหูกวางในการเลี้ยงปลากัดมาเป็นเวลานาน วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้คือการศึกษาคุณสม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อรัญญา พลพรพิสิฐ, นันทริกา ชันซื่อ, วีณา เคยพุดซา, จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์, ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์, เอนโดะ, มากาโตะ
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7865
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7865
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ปลากัด -- โรค -- การรักษา
ปลาหางนกยูง -- โรค -- การรักษา
ใบหูกวาง
spellingShingle ปลากัด -- โรค -- การรักษา
ปลาหางนกยูง -- โรค -- การรักษา
ใบหูกวาง
อรัญญา พลพรพิสิฐ
นันทริกา ชันซื่อ
วีณา เคยพุดซา
จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
เอนโดะ, มากาโตะ
การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
description การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนแนวคิดและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่สำคัญทีมีการใช้ใบหูกวางในการเลี้ยงปลากัดมาเป็นเวลานาน วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้คือการศึกษาคุณสมบัติด้ายกายภาพ เคมีและชีวภาพ ชนิดของสารออกฤทธิ์และความเป็นพิษของน้ำสกัดใบหูกวางต่อปลากัดและปลาหางนกยูง การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำสกัดใบหูกวางต่อการรักษาแผลและโรคติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาที่ผิวหนังปลากัดและปลาหางนกยูง การสกัดใบหูกวางแห้งด้วยน้ำเป็นเวลา 3 วัน ที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส จะได้สารละลายใสสีน้ำตาลเหมือนสีชา กลิ่นชา รสฝาด มีปริมาณสารสกัดด้วนน้ำทั้งหมด 15.15 เปอร์เซ็นต์ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอลทั้งหมด 11.53 เปอร์เซ็นต์ องค์ประกอบที่สำคัญทางเคมีที่ตรวจพบในใบหูกวางสีเหลือง ได้แก่ กรดแทนนิค 14.5+-3.2 เปอร์เซ็นต์ รูติน 20+-1.6 มิลลิกรัม/100 กรัม ไอโซเคอร์ซิตริน 12+-1.6 มิลลิกรัม/100 กรัม ทองแดง 0.40+-0.12 มิลลิกรัม/100 กรัม และสังกะสี 2.56+-0.71 มิลลิกรัม/100 กรัม ในขณะที่ใบสีแดงพบองค์ประกอบต่าง ๆ ในสัดส่วนที่มากกว่า ได้แก่ กรดแทนนิค 16.7+-2.6 เปอร์เซ็นต์ รูติน 42.5+-5.8 มิลลิกรัม/100 กรัม ไอโซเคอร์ซิตริน 25+-2.99 มิลลิกรัม/100 กรัม ทองแดง 0.46+-0.1 มิลลิกรัม/100 กรัม และสังกะสี 2.37+-0.34 มิลลิกรัม/100 กรัม การสกัดใบหูกวางด้วยน้ำที่อุณหภูมิดังกล่าวเป็นเวลา 3 วันจะได้สารละลายสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นรสเปรี้ยว และมีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย 10 [superscript 7] cfu/mL น้ำสกัดใบหูกวางมีความเป็นพิษของต่อปลากัดและปลาหางนกยูงที่ระดับความเข้มข้น 6,760 พีพีเอ็ม และ 5,281 พีพีเอ็มตามลำดับ โดยระดับความเข้มข้นที่น้ำสกัดใบหูกวางสามารถยับยั้งแบคทีเรียชนิดแอร์โรโมแนส สเตรปโตคอคคัส และโปรโตซัวชนิดเตตร้าไฮมีนาเท่ากับ 1,000, 4,000 และ 2,000 พีพีเอ็ม ตามลำดับ น้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 1,000 พีพีเอ็ม มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดสเตรปโตคอคคัสในปลากัด 88 ปอร์เซนต์ ในขณะที่ระดับความเข้มข้น 10 พีพีเอ็มประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อสเตรปโตคอคคัสในปลาหางนกยูง 83.33 เปอร์เซ็นต์ ใบหูกวางหรือน้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 1,000 พีพีเอ็ม สามารถนำมาใช้ในการสมานแผลปลากัดและปลาหางนกยูงที่มีบาดแผลที่ผิวหนังเพียงเล็กน้อยได้ และการใช้น้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 50 -200 พีพีเอ็ม ช่วยทำให้ปลากัดและปลาหางนกยูงที่ติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาในห้องปฏิบัติการมีอัตรารอดเพิ่มขึ้นแต่ไม่สามารถกำจัดเชื้อที่มีในตัวปลาหางนกยูงทั้งหมด การใช้ใบหูกวางที่ความเข้มข้น 1,000 – 3,000 พีพีเอ็มร่วมกับเกลือแกงที่ความเข้มข้น 0.5 – 1 เปอร์เซ็นต์เพื่อรักษาแผลและลดการติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาที่เกิดการระบาดขึ้นในฟาร์มเลี้ยงปลาหางนกยูงช่วยลดอัตราการตายได้มากกว่าการไม่ใช้หรือการใช้ใบหูกวางเพียงชนิดเดียว
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
อรัญญา พลพรพิสิฐ
นันทริกา ชันซื่อ
วีณา เคยพุดซา
จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
เอนโดะ, มากาโตะ
format Technical Report
author อรัญญา พลพรพิสิฐ
นันทริกา ชันซื่อ
วีณา เคยพุดซา
จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์
ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์
เอนโดะ, มากาโตะ
author_sort อรัญญา พลพรพิสิฐ
title การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
title_short การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
title_full การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
title_sort การใช้ใบหูกวาง (terminalia catappa l.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (betta splendens) และปลาหางนกยูง (poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7865
_version_ 1681413114352893952
spelling th-cuir.78652008-08-25T07:42:41Z การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคในปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) : รายงานผลการวิจัย The study of Indian Almond Leaves (Terminalia catappa L.) on Siamese fighting fish (Betta splendens) and guppy (Poecilia reticulata) diseases treatment อรัญญา พลพรพิสิฐ นันทริกา ชันซื่อ วีณา เคยพุดซา จิรศักดิ์ ตั้งตรงไพโรจน์ ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ เอนโดะ, มากาโตะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางทะเลโตเกียว ปลากัด -- โรค -- การรักษา ปลาหางนกยูง -- โรค -- การรักษา ใบหูกวาง การใช้ใบหูกวาง (Terminalia catappa L.) เพื่อรักษาโรคปลากัด (Betta splendens) และปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนแนวคิดและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่สำคัญทีมีการใช้ใบหูกวางในการเลี้ยงปลากัดมาเป็นเวลานาน วัตถุประสงค์หลักของการศึกษาวิจัยในครั้งนี้คือการศึกษาคุณสมบัติด้ายกายภาพ เคมีและชีวภาพ ชนิดของสารออกฤทธิ์และความเป็นพิษของน้ำสกัดใบหูกวางต่อปลากัดและปลาหางนกยูง การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำสกัดใบหูกวางต่อการรักษาแผลและโรคติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาที่ผิวหนังปลากัดและปลาหางนกยูง การสกัดใบหูกวางแห้งด้วยน้ำเป็นเวลา 3 วัน ที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส จะได้สารละลายใสสีน้ำตาลเหมือนสีชา กลิ่นชา รสฝาด มีปริมาณสารสกัดด้วนน้ำทั้งหมด 15.15 เปอร์เซ็นต์ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอลทั้งหมด 11.53 เปอร์เซ็นต์ องค์ประกอบที่สำคัญทางเคมีที่ตรวจพบในใบหูกวางสีเหลือง ได้แก่ กรดแทนนิค 14.5+-3.2 เปอร์เซ็นต์ รูติน 20+-1.6 มิลลิกรัม/100 กรัม ไอโซเคอร์ซิตริน 12+-1.6 มิลลิกรัม/100 กรัม ทองแดง 0.40+-0.12 มิลลิกรัม/100 กรัม และสังกะสี 2.56+-0.71 มิลลิกรัม/100 กรัม ในขณะที่ใบสีแดงพบองค์ประกอบต่าง ๆ ในสัดส่วนที่มากกว่า ได้แก่ กรดแทนนิค 16.7+-2.6 เปอร์เซ็นต์ รูติน 42.5+-5.8 มิลลิกรัม/100 กรัม ไอโซเคอร์ซิตริน 25+-2.99 มิลลิกรัม/100 กรัม ทองแดง 0.46+-0.1 มิลลิกรัม/100 กรัม และสังกะสี 2.37+-0.34 มิลลิกรัม/100 กรัม การสกัดใบหูกวางด้วยน้ำที่อุณหภูมิดังกล่าวเป็นเวลา 3 วันจะได้สารละลายสีน้ำตาลเข้ม มีกลิ่นรสเปรี้ยว และมีการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรีย 10 [superscript 7] cfu/mL น้ำสกัดใบหูกวางมีความเป็นพิษของต่อปลากัดและปลาหางนกยูงที่ระดับความเข้มข้น 6,760 พีพีเอ็ม และ 5,281 พีพีเอ็มตามลำดับ โดยระดับความเข้มข้นที่น้ำสกัดใบหูกวางสามารถยับยั้งแบคทีเรียชนิดแอร์โรโมแนส สเตรปโตคอคคัส และโปรโตซัวชนิดเตตร้าไฮมีนาเท่ากับ 1,000, 4,000 และ 2,000 พีพีเอ็ม ตามลำดับ น้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 1,000 พีพีเอ็ม มีประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดสเตรปโตคอคคัสในปลากัด 88 ปอร์เซนต์ ในขณะที่ระดับความเข้มข้น 10 พีพีเอ็มประสิทธิภาพในการรักษาโรคติดเชื้อสเตรปโตคอคคัสในปลาหางนกยูง 83.33 เปอร์เซ็นต์ ใบหูกวางหรือน้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 1,000 พีพีเอ็ม สามารถนำมาใช้ในการสมานแผลปลากัดและปลาหางนกยูงที่มีบาดแผลที่ผิวหนังเพียงเล็กน้อยได้ และการใช้น้ำสกัดใบหูกวางที่ระดับความเข้มข้น 50 -200 พีพีเอ็ม ช่วยทำให้ปลากัดและปลาหางนกยูงที่ติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาในห้องปฏิบัติการมีอัตรารอดเพิ่มขึ้นแต่ไม่สามารถกำจัดเชื้อที่มีในตัวปลาหางนกยูงทั้งหมด การใช้ใบหูกวางที่ความเข้มข้น 1,000 – 3,000 พีพีเอ็มร่วมกับเกลือแกงที่ความเข้มข้น 0.5 – 1 เปอร์เซ็นต์เพื่อรักษาแผลและลดการติดเชื้อเตตร้าไฮมีนาที่เกิดการระบาดขึ้นในฟาร์มเลี้ยงปลาหางนกยูงช่วยลดอัตราการตายได้มากกว่าการไม่ใช้หรือการใช้ใบหูกวางเพียงชนิดเดียว The study of Indian Almond leaves (Terminalia catappe L.) on Siamese fighting fish (Betta splendens) and guppy (Poecilia reticulate) diseases treatment will provide the scientific background to support the Thai local wisdom in utilization of these leaves by Siamese fighting fish farmer for decade. Main objectives of this research are to elucidate physical, chemical and biological properties, active compound and toxicity of Indian Almond leaves extracted water on Siamese fighting fish (Betta splendens) and guppy (Poecilia reticulata). Efficacy of Indian Almond leaves extracted water on bacterial infection in both fish was also determined. Lastly, the investigation on therapeutic effect of Indian Almond leaves extracted water on Siamese fighting fish and guppy skin wounds and Tetrahymena infection was conducted. On the investigation of physical, chemical and biological properties of Indian Almond leaves extracted water, the three days extraction at 28 degree Celsius gave the brown tea color, tea smell, bitter astringent taste. Water and ethanol extraction gave 15.15 and 11.53 percents of total concentration of the extractants, respectively. Tannic acid as a major ingredients,(14.5+-3.2 %), rutin (20+-1.6 mg/100 g), isoquercitrin (12+-1.6 mg/100 g), copper (0.40+-0.12 mg/100 g) and zinc (2.56+-0.71 mg/100) have been detected from yellow color leaves. In red color leaves tannic acid 16.7+-2.6%, rutin 42.5+-5.8 mg/100g, isoquercitrin 25+-2.99 mg/100g, copper 0.46+-0.1 mt/100g and zinc 2.37+-0.34 mg/100g have been detected. Total bacterial count of the first day of extraction has not been found. The total bacterial count of the foliage extraction for more than three days was 10 [superscript 7] cfu/mL. The brown color extracted water obtained has fermented sour taste and smell. Median lethal concentration at 96 hours exposure (LC[subscript 50] -96h) of Siamese fighting fish and guppy to Indian Almond leaves extracted water were 6,760 ppm and 5,281 ppm, respectively. The minimum inhibitory concentration (MIC) of the extracted water for Aeromonas, Streptococus, and Tetrahymena were 1,000, 4,000 and 2,000 ppm, respectively. Indian Almond leaves water extracted at concentrations 1,000 and 10 ppm were 88 and 83.33% effective to streptocococosis therapy in Siamese fighting fish and guppy. Indian Almond leaves extracted water at 1,000 ppm has improved Siamese fighting fish and guppy non-invasive skin wound. Although the survival rates of the fishes infected by Tetrahymena artificial infection could be increased by bathing with Indian Almond leaves extracted water at 50-200 ppm the Tetrahymena still live in the survive guppy fish. Indian Almond leaves extracted water at the concentration of 1,000 - 3,000 ppm and sodium chloride at the concentration of .05 – 1 % have synergistic effect thus reduce mortality rates of Tetrahymena corlissi infected guppy in natural infection. ทุนวิจัยกองทุนรัดาภิเษกสมโภช 2008-08-25T07:42:41Z 2008-08-25T07:42:41Z 2549 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7865 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3088612 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย