ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2008
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7894 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.7894 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.78942008-08-28T08:16:38Z ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ The interaction effects of level of expertise and amount of information provided for experts on content validity of a test เพชรา พิพัฒน์สันติกุล สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ สุวิมล ว่องวาณิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย แบบสอบถาม -- ความตรง วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญและปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม โดยศึกษาความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานในตำแหน่งงานเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 ระดับ 3 ในหน่วยงานที่สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำงาน 3 ปี ขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ระดับ ตามระดับซีและ วุฒิการศึกษา คือผู้เชี่ยวชาญระดับ 1 มีตำแหน่งงานในระดับซี 7 ขึ้นไป มีวุฒิการศึกษาในระดับปริญญาโทขึ้นไป ผู้เชี่ยวชาญระดับ 2 มีตำแน่งงานในระดับซี 6 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ได้รับแบบประเมินที่มีปริมาณข้อมูลที่ต่างกัน 3 แบบ คือ 1) แบบที่ไม่ให้ข้อมูลเพิ่มเติมใดๆ 2) แบบให้ข้อมูลคำบรรยายลักษณะงานด้านหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ และ 3) แบบให้ข้อมูลเพิ่มจากแบบที่ 2 คือตารางโครงสร้างของเนื้อหาของแบบสอบที่สร้างขึ้น ผลการศึกษาพบปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญและปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อการตัดสินความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามที่คำนวณด้วยค่าสัดส่วนความตรงเชิงเนื้อหา (CVR) ที่เสนอโดย Lawshe (1975) การทดสอบความแตกต่างของค่าความตรงเชิงเนื้อหาเฉลี่ย (CVR) พบว่า ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเฉลี่ยของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระดับ 1 ที่ให้ปริมาณข้อมูลแบบที่ 3 และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระดับ 2 ที่ให้ปริมาณข้อมูลแบบที่ 1 และแบบที่ 3 ที่ค่าสูงกว่า ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเฉลี่ย คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญระดับ 2 ที่ให้ปริมาณข้อมูลแบบที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ The purpose of this research was to study the interaction effects of expert level and the amount of data provided on test content validity. The selection test for the position of policy and plan analysts level 3 under the jurisdiction of Ministry of Education, Ministry of University Affairs and universities was employed to examine the content validity. The experts with at least 3 years of experience were devided into 2 levels according to C-level and education level: the first level experts with C-7 level and at least Master's degree and the second level experts with C-6 level and at least Bachelor's degree. The experts were provided 3 types of data: 1) no additional data 2) job description and required performance; 3) type 2 data with table of specification. The interaction effects of expert level and the amount of data on test content validity based on CVR (Lawshe, 1975) were found. According to the test of difference of average CVR, it was found that average test content validity of the first level of experts with the third type of data and the second level of experts with the first and the third type of data were significantly higher than that determined by the second level of experts with the second type of data. 2008-08-28T08:16:37Z 2008-08-28T08:16:37Z 2539 Thesis 9746362267 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7894 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 831346 bytes 795306 bytes 970573 bytes 825256 bytes 1197145 bytes 794163 bytes 3927631 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แบบสอบถาม -- ความตรง |
spellingShingle |
แบบสอบถาม -- ความตรง เพชรา พิพัฒน์สันติกุล ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
author2 |
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ |
author_facet |
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ เพชรา พิพัฒน์สันติกุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
เพชรา พิพัฒน์สันติกุล |
author_sort |
เพชรา พิพัฒน์สันติกุล |
title |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
title_short |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
title_full |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
title_fullStr |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
title_full_unstemmed |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
title_sort |
ผลของปฏิสัมพันธ์ของระดับความเชี่ยวชาญ และปริมาณข้อมูลที่ให้ผู้เชี่ยวชาญ ที่มีต่อความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2008 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7894 |
_version_ |
1681411278079262720 |