อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สถาพร บุตรใสย์
Other Authors: สุชาดา บวรกิติวงศ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7902
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7902
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โรงเรียน -- ไทย -- การบริหาร
การกระจายอำนาจปกครอง
ครู
spellingShingle โรงเรียน -- ไทย -- การบริหาร
การกระจายอำนาจปกครอง
ครู
สถาพร บุตรใสย์
อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 สุชาดา บวรกิติวงศ์
author_facet สุชาดา บวรกิติวงศ์
สถาพร บุตรใสย์
format Theses and Dissertations
author สถาพร บุตรใสย์
author_sort สถาพร บุตรใสย์
title อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
title_short อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
title_full อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
title_fullStr อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
title_full_unstemmed อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
title_sort อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7902
_version_ 1681409883729035264
spelling th-cuir.79022008-08-29T09:55:21Z อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู Effects of empowerment enhancing processes on teacher empowerment สถาพร บุตรใสย์ สุชาดา บวรกิติวงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ โรงเรียน -- ไทย -- การบริหาร การกระจายอำนาจปกครอง ครู วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบพลังอำนาจครูเมื่อจำแนกตามภูมิหลัง 2) วิเคราะห์อิทธิพลของกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครู จังหวัดระยอง 28 โรงเรียน จำนวน 430 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยเป็นตัวแปรสังเกตได้ 11 ตัวแปรประกอบด้วย ตัวแปรกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจครูตามรูปแบบการเสริมสร้าง พลังอำนาจในองค์การของ Scott และ Jaffe มี 5 ตัวแปร ได้แก่ การสร้างภาวะผู้นำ การสร้างแรงจูงใจ การสร้างทีมงาน การส่งเสริมความร่วมมือและการสร้างบรรยากาศ ตัวแปรพลังอำนาจครูตามแนวคิด ของ Short และ Rinehart มี 6 ตัวแปร ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ สถานภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความเป็นอิสระและผลกระทบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ สอบถาม มีค่าความเที่ยง .97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน การทดสอบค่าเฉลี่ย ของประชากร การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันด้วยโปรแกรม SPSS for windows version 11.5 และวิเคราะห์โมเดลลิสเรลด้วยโปรแกรมลิสเรล version 8.53 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการ วิเคราะห์พลังอำนาจครูจำแนกตามภูมิหลัง พบว่า เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ ระดับที่สอนและระยะ เวลาในการรับราชการ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามระดับการ ศึกษาสูงสุดและตำแหน่งหน้าที่ พบว่า ค่าเฉลี่ยของพลังอำนาจครู แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และ .01 โดยครูที่มีการศึกษาสูงระดับปริญญาโทมีค่าเฉลี่ยของพลังอำนาจสูงกว่าครู ที่มีการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี และผู้บริหารมีค่าเฉลี่ยของพลังอำนาจสูงกว่าครูผู้สอน 2.โมเดล แสดงกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจที่มีต่อพลังอำนาจครู ที่สร้างขึ้น มีความสอดคล้องกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 4.336 ที่องศาอิสระเท่ากับ 14 ระดับความน่าจะเป็น 0.993 ค่า GFI เท่ากับ 1.00 ค่า AGFI เท่ากับ 0.99 และค่า RMR เท่ากับ 0.005 ตัวแปรในโมเดลสามารถ อธิบายความแปรปรวนของพลังอำนาจครูทั้ง 6 ด้าน ได้แก่การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ความก้าว หน้าในวิชาชีพ สถานภาพ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความเป็นอิสระและผลกระทบ ได้ร้อยละ 40,26,12,23,28 และร้อยละ 4 ตามลำดับ 3. ตัวแปรการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจได้รับอิทธิพลทางตรง จากการส่งเสริมความร่วมมือ สูงสุด รองลงมาคือ การสร้างภาวะผู้นำและการสร้างบรรยากาศ ตัวแปรความก้าวหน้าในวิชาชีพได้รับอิทธิพลทางตรงจากการสร้างบรรยากาศสูงสุด รองลงมาคือ การสร้างภาวะผู้นำและการสร้างทีมงาน ตัวแปรสถานภาพได้รรับอิทธิพลทางตรงจากการส่งเสริมความร่วมมือและการสร้างแรงจูงใจและได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการส่งเสริมความร่วมมือและการสร้างภาวะผู้นำโดยส่งผ่านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตัวแปรความเชื่อมันในตนเองได้รับอิทธิพลทางตรงจากการสร้างภาวะผู้นำและได้รับอิทธืพลทางอ้อมจากการสร้างบรรยากาศและการสร้างภาวะผู้นำโดยส่งผ่านความก้าวหน้าในวิชาชีพ ตัวแปรความเป็นอิสระได้รับอิทธิพลทางตรงจากการสร้างภาวะผู้นำสูงสุด รองลงมาคือการสร้างบรรยากาศและการสร้างทีมงาน ตัวแปรผลกระทบได้รับอิทธิพลทางตรงจากการสร้างบรรยากาศ The purposes of this research were 1) study and compare the level of teacher empowerment at different background 2) to analyze effects of empowerment enhancing processes on teacher empowerment. The participants were 430 teachers in Rayong province from 28 schools. The research variables consisted of 11 observed variables. The research instrument was a questionnaire having reliabilities .97. The research data were analyzed by employing SPSS for Windows version 11.5 for descriptive statistical analysis and correlation as well as LISREL version 8.53 for path analysis. The research findings were as follows. 1. Teacher empowerment was not different among gender, age, teaching level, and years of experience at .05 level of statistical significant. Teacher empowerment were different among educational level and position at .05 and .01 level of statistical significant, respectively. 2. The model of empowerment enhancing processes on teacher empowerment was fitted with empirical data with chi-square=4.336, df=14, p=.0993, GFI-=1.00, AGFI=0.99, and RMR=0.005 and variables in this model could explain the variance in decision making, professional growth, status, self-efficacy, autonomy and impact about 40,26,12,23,28 and 4 percent, respectively. 3. The decision making received the highest direct effects form cooperation Then leader and atmosphere. The professional growth received the highest direct effects from atmosphere. Then leader and teamwork. The status received direct effects from cooperation and motivation. The status received indirect effects from cooperation and leader through decision making. The self-efficacy received direct effects from leader and received indirect effects from atmosphere and leader through professional growth. The autonomy received the highest direct effect from atmosphere. 2008-08-29T09:55:20Z 2008-08-29T09:55:20Z 2549 Thesis 9741426658 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7902 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1379220 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย