การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง

วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุวิมล บวรศุภศรี
Other Authors: ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7972
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.7972
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ภาวะไขมันสูงในเลือด -- การรักษา
spellingShingle ภาวะไขมันสูงในเลือด -- การรักษา
สุวิมล บวรศุภศรี
การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
description วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ
author_facet ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ
สุวิมล บวรศุภศรี
format Theses and Dissertations
author สุวิมล บวรศุภศรี
author_sort สุวิมล บวรศุภศรี
title การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
title_short การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
title_full การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
title_fullStr การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
title_sort การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7972
_version_ 1681410155447582720
spelling th-cuir.79722008-09-05T04:07:36Z การเปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของการให้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง กับ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในผู้ป่วยนอกที่มีภาวะคอเลสเทอรอลในเลือดสูง Comparative efficacy and safety of rosuvastatin 5 Mg everyday versus 10 Mg alternate-day in outpatients with hypercholesterolemia สุวิมล บวรศุภศรี ศุภกิจ วงศ์วิวัฒนนุกิจ สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ ภาวะไขมันสูงในเลือด -- การรักษา วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 วัตถุประสงค์: เปรียบเทียบประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง และ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน ในด้าน (1) ร้อยละการเปลี่ยนแปลงระดับไขมันในเลือด (2) ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถลดระดับ LDL-C ให้ถึงเกณฑ์เป้าหมายตามที่ NCEP-ATP III (2001) กำหนด (3) อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา วิธีดำเนินการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองชนิด randomized, open-labeled, cross-over group study ดำเนินการศึกษา ร ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอก แผนกอายุกรรมทั่วไปและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ระหว่างเดือน มิถุนายน 2547-ตุลาคม 2548 ผู้เข้าร่วมการวิจัย 70 ราย ได้รับการสุ่มโดยวิธี Block randomization แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ให้ได้รับการบริหารยาแต่ละวิธี โดยกลุ่มที่ 1 ผู้ป่วยได้รับยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้งเป็นเวลา 4 สัปดาห์ และกลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยได้รับยาโรซูวาสทาทิน 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ หลังจากนั้นสลับวิธีการบริหารยาในผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม เปรียบเทียบผลในด้าน (1) ร้อยละการเปลี่ยนแปลงระดับไขมันในเลือดจากระดับไขมันพื้นฐาน (2) ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถลดระดับ LDL-C ได้ถึงเกณฑ์เป้าหมาย (3) อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ผลการวิจัย: ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม มีขัอมูลพื้นฐาน ผลการตรวจร่างกายและระดับไขมันในเลือดพื้นฐาน ไม่แตกต่างกัน (p > 0.05; ทุกค่า) ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มสามารถลดระดับ TC, TG, LDL-C และเพิ่มระดับ HDL-C ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับระดับไขมันพื้นฐาน (p<0.001) ผู้ป่วยที่ได้รับยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง สามรถลดระดับ LDL-C ได้มากกว่าผู้ป่วยที่ได้รับยาโรซูวาสทาทิน 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.030) อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่ได้รับยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง และ 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน สามารถลดระดับ LDL-C ได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่ NCEP-ATP III กำหนดไม่แตกต่างกัน (P = 0.549) นอกจากนั้น อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ระหว่างผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่ม พบว่าไม่แตกต่างกัน สรุปผลวิจัย: การใช้ยาโรซูวาสทิน 10 มิลลิกรัม วันเว้นวัน อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านยาของผู้ป่วย โดยที่ประสิทธิผลของการลดระดับไขมันในเลือดให้ได้ตามเกณฑ์เป้าหมายไม่แตกต่างจากการใช้ยาโรซูวาสทาทิน 5 มิลลิกรัม วันละครั้ง Objectives: To compare efficacy and safety of rosuvastatin 5 mg every day and 10 mg alternate-day in terms of (1) percentage of change from baseline in serum lipid (2) percentage of patients who achieved LDL-C goal according to NCEP-ATP III guideline (2001), and (3) adverse events rate. Methods: A randomized, open-labeled, cross-over group study that enrolled patients from outpatient department, King Chulalongkorn Memorial Hospital during June 2004 to October 2005. Seventy patients were randomized using block randomization, crossover fashion to receive rosuvastatin 5 mg every day (regimen 1) or rosuvastatin 10 mg alternate-day (regimen 2). Each regimen was administered for a duration of four weeks. Clinical outcomes were evaluated based on (1) percentage of change from baseline in serum LDL-C, TC, TG and HDL-C (2) percentage of patients who achieved LDL-C goal according to NCEP-ATP III guideline, and (3) adverse events rate. Results: Baseline patients characteristics were similar between twol groups (all p > 0.05). Both regimens significantly reduced TC, TG, LDL-C and increased HDL-C from baseline (p < 0.001). Rosuvastatin 5 mg every day reduced LDL-C significantly more than rosuvastatin 10 mg alternate-day (p = 0.003), However, the percentage of patients who achieved LDL-C goal according to NCEP-ATP III guideline was not significantly different between rosuvastatin 5 mg every day and 10 mg alternate-day (p=0.549).There was no significant difference in number of patients who experienced adverse events between rosuvastatin 5 mg every day and 10 mg alternate-day. Conclusion: Rosuvastatin 10 mg alternate-day is an alfernative treatment which can reduce patient's cost of medication. It can be used to treat the patients efficiently to reduce LDL-C and to achieve LDL-C goal as same as rosuvastatin 5 mg every day. 2008-09-05T04:07:35Z 2008-09-05T04:07:35Z 2548 Thesis 9745324116 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7972 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1829696 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย