ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยที่เพิ่มขีดความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการใช้แรงงานทดแทนและความพึงพอใจในงาน เนื่องจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตอย่างเห็นได้ชัด แต่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและโครงสร้งการผลิตกำลังคนทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/800
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.800
record_format dspace
spelling th-cuir.8002008-03-06T13:27:50Z ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย ศิริเชษฐ์ สังขะมาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การจ้างงาน (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์) ความพอใจในการทำงาน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยที่เพิ่มขีดความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการใช้แรงงานทดแทนและความพึงพอใจในงาน เนื่องจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตอย่างเห็นได้ชัด แต่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและโครงสร้งการผลิตกำลังคนทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการกำลังคนได้ การศึกษาแบ่งเป็นสองขั้นตอน โดยขั้นแรกเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิค โดยการศึกษาหลักสูตรการศึกษาของวิศวกรและช่างเทคนิคใน 2 กลุ่มวิชา คือ วิชาพื้นฐานทั่วไปและวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์ และวิเคราะห์เอกสารและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกบุคลากรในสายงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อศึกษาปัจจัยการทดแทนวิศวกรในด้านเทคโนโลยีการผลิต การลงทุนและลักษณะการแข่งขันการตลาด รวมถึงศึกษาความแตกต่างของลักษณะงานระหว่างวิศวกรและช่างเทคนิคจากการทำงานจริง เพื่อตรวจสอบว่าช่างเทคนิคสามารถทำหน้าที่แทนวิศวกรได้มากน้อยเพียงใด มีปัจจัยใดเอื้อหรือเป็นอุปสรรคในการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิคหรือไม่ และศึกษามาตรการเพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้และความสามารถของช่างเทคนิค จากการศึกษาพบความแตกต่างที่สำคัญระหว่างวิศวกรและช่างเทคนิคในด้านการศึกษา คือ การศึกษาในระดับโรงเรียนทำให้วิศวกรมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และมีความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมแบบครอบคลุมหลายสาขามากกว่าช่างเทคนิค และการเรียนเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ของวิศวกรเน้นการเรียนรู้ในเชิงทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติ ส่วนช่างเทคนิคจะเรียนรู้ด้านการปฏิบัติมากกว่า แต่พบว่าช่างเทคนิคที่มีประสบการณ์และได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมแล้วมีความเป็นไปได้ในการทำหน้าที่ทดแทนวิศวกรได้ด้วยการฝึกอบรมให้ช่างเทคนิคมีความรู้ภาษาอังกฤษและความรู้ทางวิศวกรรมในเชิงทฤษฎี ขั้นที่สองเป็นการศึกษาความพึงพอใจในงานของวิศวกรและช่างเทคนิค โดยการศึกษาจากข้อมูลคุณลักษณะประชากรตัวอย่าง คือ อายุ รายได้ และอายุงานมาหาความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจในงาน โดยการวิเคราะห์ความถดถอยพบว่า ไม่มีค่าสหสัมพันธ์ที่เป็นนัยสำคัญทางสถิติระหว่างตัวแปร จึงสรุปได้ว่า อายุ รายได้ และอายุงาน ไม่สามารถนำมาทำนายระดับความพึงพอใจในงานได้ และเมื่อใช้ตัวแปรเพศและระดับการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในงาน โดยการวิเคราะห์ค่าสถิติ Chi-square พบว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างตัวแปรเช่นกัน จึงสรุปได้ว่าตัวแปรเพศและระดับการศึกษาไม่มีความเกี่ยวข้องกับระดับความพึงพอใจในงาน แต่จากการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาพบว่ากลุ่มประชากรตัวอย่างมีความพึงพอใจในงานในระดับพอใจ 74.2 % และพอใจมาก 21.1 % สรุปได้ว่าาประชากรตัวอย่างมีความพึงพอใจในงานที่ทำอยู่ในระดับสูงมากคือ 95.4% และมีผู้ไม่พึงพอใจในงานเท่ากับ 4.6% ผลการศึกษาพบว่า มีปัจจัยเอื้อหลายประการในการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิค กล่าวคือ การนำช่างเทคนิคเข้ามาทดแทนวิศวกรมีข้อได้เปรียบหลายด้าน ได้แก่ 1) เกณฑ์อายุโดยเฉลี่ยของช่างเทคนิคในวัยทำงานมีค่าต่ำกว่าวิศวกร 2) อายุงานในบริษัทของช่างเทคนิคโดยเฉลี่ยสูงกว่าวิศวกร 3) อัตราค่าจ้างแรงงานโดยเฉลี่ยของช่างเทคนิคต่ำกว่าวิศวกรหนึ่งหมื่นบาทต่อคนต่อเดือน และ 4) ความพึงพอใจในงานของช่างเทคนิคสูงกว่าวิศวกรโดยเฉลี่ย ทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2537 2006-07-15T02:27:14Z 2006-07-15T02:27:14Z 2541 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/800 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9837348 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การจ้างงาน (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์)
ความพอใจในการทำงาน
spellingShingle อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การจ้างงาน (ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์)
ความพอใจในการทำงาน
ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
description งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยที่เพิ่มขีดความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการใช้แรงงานทดแทนและความพึงพอใจในงาน เนื่องจากอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตอย่างเห็นได้ชัด แต่การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและโครงสร้งการผลิตกำลังคนทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการกำลังคนได้ การศึกษาแบ่งเป็นสองขั้นตอน โดยขั้นแรกเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิค โดยการศึกษาหลักสูตรการศึกษาของวิศวกรและช่างเทคนิคใน 2 กลุ่มวิชา คือ วิชาพื้นฐานทั่วไปและวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์ และวิเคราะห์เอกสารและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกบุคลากรในสายงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อศึกษาปัจจัยการทดแทนวิศวกรในด้านเทคโนโลยีการผลิต การลงทุนและลักษณะการแข่งขันการตลาด รวมถึงศึกษาความแตกต่างของลักษณะงานระหว่างวิศวกรและช่างเทคนิคจากการทำงานจริง เพื่อตรวจสอบว่าช่างเทคนิคสามารถทำหน้าที่แทนวิศวกรได้มากน้อยเพียงใด มีปัจจัยใดเอื้อหรือเป็นอุปสรรคในการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิคหรือไม่ และศึกษามาตรการเพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้และความสามารถของช่างเทคนิค จากการศึกษาพบความแตกต่างที่สำคัญระหว่างวิศวกรและช่างเทคนิคในด้านการศึกษา คือ การศึกษาในระดับโรงเรียนทำให้วิศวกรมีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ และมีความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมแบบครอบคลุมหลายสาขามากกว่าช่างเทคนิค และการเรียนเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ของวิศวกรเน้นการเรียนรู้ในเชิงทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติ ส่วนช่างเทคนิคจะเรียนรู้ด้านการปฏิบัติมากกว่า แต่พบว่าช่างเทคนิคที่มีประสบการณ์และได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมแล้วมีความเป็นไปได้ในการทำหน้าที่ทดแทนวิศวกรได้ด้วยการฝึกอบรมให้ช่างเทคนิคมีความรู้ภาษาอังกฤษและความรู้ทางวิศวกรรมในเชิงทฤษฎี ขั้นที่สองเป็นการศึกษาความพึงพอใจในงานของวิศวกรและช่างเทคนิค โดยการศึกษาจากข้อมูลคุณลักษณะประชากรตัวอย่าง คือ อายุ รายได้ และอายุงานมาหาความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจในงาน โดยการวิเคราะห์ความถดถอยพบว่า ไม่มีค่าสหสัมพันธ์ที่เป็นนัยสำคัญทางสถิติระหว่างตัวแปร จึงสรุปได้ว่า อายุ รายได้ และอายุงาน ไม่สามารถนำมาทำนายระดับความพึงพอใจในงานได้ และเมื่อใช้ตัวแปรเพศและระดับการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในงาน โดยการวิเคราะห์ค่าสถิติ Chi-square พบว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างตัวแปรเช่นกัน จึงสรุปได้ว่าตัวแปรเพศและระดับการศึกษาไม่มีความเกี่ยวข้องกับระดับความพึงพอใจในงาน แต่จากการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาพบว่ากลุ่มประชากรตัวอย่างมีความพึงพอใจในงานในระดับพอใจ 74.2 % และพอใจมาก 21.1 % สรุปได้ว่าาประชากรตัวอย่างมีความพึงพอใจในงานที่ทำอยู่ในระดับสูงมากคือ 95.4% และมีผู้ไม่พึงพอใจในงานเท่ากับ 4.6% ผลการศึกษาพบว่า มีปัจจัยเอื้อหลายประการในการทดแทนวิศวกรด้วยช่างเทคนิค กล่าวคือ การนำช่างเทคนิคเข้ามาทดแทนวิศวกรมีข้อได้เปรียบหลายด้าน ได้แก่ 1) เกณฑ์อายุโดยเฉลี่ยของช่างเทคนิคในวัยทำงานมีค่าต่ำกว่าวิศวกร 2) อายุงานในบริษัทของช่างเทคนิคโดยเฉลี่ยสูงกว่าวิศวกร 3) อัตราค่าจ้างแรงงานโดยเฉลี่ยของช่างเทคนิคต่ำกว่าวิศวกรหนึ่งหมื่นบาทต่อคนต่อเดือน และ 4) ความพึงพอใจในงานของช่างเทคนิคสูงกว่าวิศวกรโดยเฉลี่ย
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม
ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
format Technical Report
author ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
author_sort ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
title ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
title_short ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
title_full ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
title_fullStr ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
title_sort ผลกระทบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่อการจ้างงาน กรณีศึกษาการพัฒนากำลังคนเพื่อความสามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์: รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/800
_version_ 1681413354691756032