การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย

ข้อมูลทางคลินิก (อายุ เพศ พันธุ์) ตำแหน่งก้อนเนื้องอก ขนาดก้อนเนื้องอก ระยะเวลามีชีวิตรอด และสถานภาพภายหลังการรักษา -- ค่าดัชนี AgNORs ค่าดัชนี PCNA ผลการย้อม สี MFS ผลการแสดงออกจากโปรตีน Melan A -- ค่าดัชนี AgNORs และค่าดัชนี PCNA แยกตามประเภทของมะเร็งเมลาโนมา -- ตัวอย่างมะเร็งเมลาโนมา จำแนกตามลักษ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อนุเทพ รังสีพิพัฒน์, ชนินทร์ กัลล์ประวิทธ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8198
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8198
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สุนัข -- โรค
มะเร็งในสัตว์
เมลาโนมา
spellingShingle สุนัข -- โรค
มะเร็งในสัตว์
เมลาโนมา
อนุเทพ รังสีพิพัฒน์
ชนินทร์ กัลล์ประวิทธ์
การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
description ข้อมูลทางคลินิก (อายุ เพศ พันธุ์) ตำแหน่งก้อนเนื้องอก ขนาดก้อนเนื้องอก ระยะเวลามีชีวิตรอด และสถานภาพภายหลังการรักษา -- ค่าดัชนี AgNORs ค่าดัชนี PCNA ผลการย้อม สี MFS ผลการแสดงออกจากโปรตีน Melan A -- ค่าดัชนี AgNORs และค่าดัชนี PCNA แยกตามประเภทของมะเร็งเมลาโนมา -- ตัวอย่างมะเร็งเมลาโนมา จำแนกตามลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา -- ค่าดัชนี AgNORs ค่าดัชนี PCNA จำนวนตัวอย่างของการย้อม Melan A จำแนกตามกลุ่มข้อมูลทางคลินิก
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
อนุเทพ รังสีพิพัฒน์
ชนินทร์ กัลล์ประวิทธ์
format Technical Report
author อนุเทพ รังสีพิพัฒน์
ชนินทร์ กัลล์ประวิทธ์
author_sort อนุเทพ รังสีพิพัฒน์
title การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
title_short การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
title_full การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
title_fullStr การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
title_full_unstemmed การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
title_sort การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8198
_version_ 1681411009137344512
spelling th-cuir.81982008-10-01T08:52:55Z การศึกษาการพยากรณ์โรคมะเร็งชนิดเมลาโนมาในช่องปากสุนัข : รายงานผลการวิจัย The study on prognostic values in canine oral malignant melanoma อนุเทพ รังสีพิพัฒน์ ชนินทร์ กัลล์ประวิทธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ สุนัข -- โรค มะเร็งในสัตว์ เมลาโนมา ข้อมูลทางคลินิก (อายุ เพศ พันธุ์) ตำแหน่งก้อนเนื้องอก ขนาดก้อนเนื้องอก ระยะเวลามีชีวิตรอด และสถานภาพภายหลังการรักษา -- ค่าดัชนี AgNORs ค่าดัชนี PCNA ผลการย้อม สี MFS ผลการแสดงออกจากโปรตีน Melan A -- ค่าดัชนี AgNORs และค่าดัชนี PCNA แยกตามประเภทของมะเร็งเมลาโนมา -- ตัวอย่างมะเร็งเมลาโนมา จำแนกตามลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา -- ค่าดัชนี AgNORs ค่าดัชนี PCNA จำนวนตัวอย่างของการย้อม Melan A จำแนกตามกลุ่มข้อมูลทางคลินิก วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ของการจำแนกประเภทและปัจจัยทางคลินิกของมะเร็งเมลาโนมาในช่องปากสุนัข การแสดงออกของโปรตีน Melan A ค่าดัชนี Argyrophilic Nucleolar Organizer Regions (AgNORs) และค่าดัชนี Proliferative Cell Nuclear Antigen (PCNA) เพื่อการพยากรณ์โรค โดยทำการศึกษาข้อมูลย้อนหลังชิ้นเนื้อที่ส่งชันสูตรที่ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงปี พ.ศ. 2543-2546 จำนวน 67 ตัวอย่าง การจำแนกลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา พบชนิด benign melanocytoma ร้อยละ 2.98 (2/67) และชนิด malignant melanoma ร้อยละ 97.02 (65/67) ซึ่งแบ่งออกเป็น epithelioid cell type ร้อยละ 47.67 (32/67) spindle cell type ร้อยละ 23.88 (16/67) และ mixed cell type ร้อยละ 25.73 (17/67) ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยดัชนี AgNORs ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา การย้อมติดสี Masson-Fontana Silver (MFS) การแสดงออกของโปรตีน Melan A แต่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างการจำแนกเกรด และปัจจัยทางคลินิก ได้แก่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของก้อนเนื้อ (p<0.05) ค่าเฉลี่ยดัชนี PCNA ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับลักษณะทางจุลพยาธิ การจำแนกเกรด การย้อมติดสี MFS และการแสดงออกของโปรตีน Melan A แต่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของเพศของสุนัขป่วยและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของก้อนเนื้อ (p<0.05) การแสดงออกของโปรตีน Melan A ตรวจพบในมะเร็งเมลาโนมา ร้อยละ 50.77 (33/65) ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา และปัจจัยทางคลินิก จากการศึกษาครั้งนี้ การแสดงออกของโปรตีน Melan A สามารถจำแนกมะเร็งที่มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์เมลาโนไซต์ได้ การแสดงออกของโปรตีน Melan A ค่าดัชนี AgNORs และค่าดัชนี PCNA สามารถนำมาใช้ร่วมกันเพื่อการพยากรณ์ความรุนแรงของมะเร็งเมลาโนมาในช่องปากของสุนัขได้ The purpose of this research is to evaluate the relationship of histopathological appearance and clinical data and Melan A protein expression, Argyrophilic Nucleolar Organizer Regions (AgNORS) and Proliferative Cell Nuclear Antigen (PCNA) indices of canine oral malignant melanoma. A retrospective study was performed on biopsy specimens of 67 dogs submitted from 2000 to 2003 at Department of Pathology, Faculty of Veterinary Science. Chulalongkorn University. A total of 67 melanocytic tumors were histopathological diagnosed into two groups that were benign melanocytoma 2.98%(2/67) and malignant melanoma 97.02%(65/67). Malignant melanoma were pathological classified into three groups that were epithelioid cell type 41.67%(32/67), spindle cell type 23.88%(16/67) and mixed cell type 25.73%(17/67). Our results showed that average AgNORs index did not have significant differences with histopahological characteristics, Masson-Fontana Silver (MFS) stain, Melan A expression but AgNORs index showed significant differences with histological grading and tumor size (p<0.05). Average PCNa index did not have significant differences with histopathological characteristics and grading, MFS stain and Melan A protein expression but have significant differences with sex of affected dogs and tumor size (p<0.05). The expression of Melan A protein expression was detected in malignant melanoma 50.77%(33/65). The results did not show significant differences with histopathological classification and some clinical data. Upon the study Melan A protein expression is a useful marker for melanocytic derivation diagnosis in dogs. The study indicated that the expression of Melan A, AgNORs and PCNA indices can be used to provide the prognosis of oral malignant melanoma in dogs. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2008-10-01T08:52:55Z 2008-10-01T08:52:55Z 2547 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8198 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4649703 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย