ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กษมา วุฒิสารวัฒนา
Other Authors: อัมพร ม้าคนอง
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8403
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8403
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การเรียนรู้แบบประสบการณ์
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
spellingShingle การเรียนรู้แบบประสบการณ์
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กษมา วุฒิสารวัฒนา
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
author2 อัมพร ม้าคนอง
author_facet อัมพร ม้าคนอง
กษมา วุฒิสารวัฒนา
format Theses and Dissertations
author กษมา วุฒิสารวัฒนา
author_sort กษมา วุฒิสารวัฒนา
title ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
title_short ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
title_full ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
title_fullStr ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
title_full_unstemmed ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
title_sort ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2008
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8403
_version_ 1681411278817460224
spelling th-cuir.84032008-11-06T06:51:04Z ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา Effects of using experiential learning in organizing mathematics instructional activity on mathematics problem solving ability and critical thinking of ninth grade students in Phayao Province กษมา วุฒิสารวัฒนา อัมพร ม้าคนอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ การเรียนรู้แบบประสบการณ์ คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 ศึกษา 1. ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2. เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหารคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ กับกลุ่มที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ 3. เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ กับกลุ่มที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2548 โรงเรียนจุนวิทยาคม จังหวัดพะเยา จำนวน 74 คน เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 40 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และแบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่ามัชฌิมเลขคณิตร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ มีความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ 50% ที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ มีความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์สูงกว่า นักเรียนที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์โดยเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ มีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่านักเรียน ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้การสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 To 1. study mathematics problem solving ability of ninth grade students learning by using experiential learning in organizing mathematics instructional activity ; 2. compare mathematics problem solving ability of ninth grade students between groups learning by using experiential learning in organizing mathematics instructional activity and learning by using conventional activity ; 3. compare critical thinking of ninth grade students between groups lerning by using experiental learning in organizing mathematics instructional activity and learning by using conventional. The subject were 74 ninth students in academic year 2005 of Junwittayacom School at Phayao province. There were 40 students in experimental group and the other 34 in controlled group. The research instruments were the mathematic problem solving ability test and critical thinking test. The data were analyzed by means of arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation, and t-test. The results of research show that 1. The mathematics problem solving ability of ninth grade students learning by using experiential learning in organized mathematics instruction activity was higher than minimun criteria of 50%. 2. The mathematics problem solving ability of ninth grade students learning by using experiential learning in organizing mathematics in structional activity was higher than that of students learning by using conventional activity at significance level .05. 3. The critical thinking of ninth grade students learning by using experiential learning in organizing mathematics instructional activity was higher than that of students learning by using conventional activity at significance level .05 2008-11-06T06:51:03Z 2008-11-06T06:51:03Z 2548 Thesis 9741424442 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8403 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2818039 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย