การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?

การบำบัดรักษาสารเสพติด -- ประชากรที่เข้ารับการบำบัดรักษา -- การเสพสารเสพติดกับการติดเชื้อไวรัสเอดส -- ทัศนคติของการใช้สารเสพติด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อุษณีย์ พึ่งปาน
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์
Format: Article
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8641
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8641
record_format dspace
spelling th-cuir.86412009-01-13T03:19:55Z การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา? อุษณีย์ พึ่งปาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยาเสพติด -- การรักษา การบำบัดรักษาสารเสพติด -- ประชากรที่เข้ารับการบำบัดรักษา -- การเสพสารเสพติดกับการติดเชื้อไวรัสเอดส -- ทัศนคติของการใช้สารเสพติด ในช่วงทศวรรษหลังนี้ ได้เกิดการใช้สารกระตุ้นหรือที่รู้จักกันว่ายาบ้าเป็นจำนวนมาก และแพร่ระบาดไปอย่างรวดเร็ว ในระยะ 6-7 ปีที่ผ่านมา จำนวนผู้ติดยาบ้าเพิ่มมากขึ้นและดูเหมือนว่ามีจำนวนมากกว่าผู้ใช้เฮโรอีน จากข้อมูลผู้เข้ารับการรักษารายใหม่ รายงานว่าประชากรที่ใช้ยาบ้ามีอายุต่ำกว่า 19 ปี นอกจากนี้ประมาณร้อยละ 25-45 เป็นนักเรียน ที่เหลือประมาณ 1/3 เป็นผู้ว่างงาน ร้อยละ 90 เสพโดยวิธีสูดดมควัน และบางคนก็เสพสารเสพติดอีกชนิดหนึ่งด้วยวิธีการฉีด ขณะที่เฮโรอีนก็ยังเป็นสารที่มีผู้นิยมใช้และเข้ามารักษาจำนวนมากเป็นอันดับรองลงมา ถึงแม้ว่าประชากรที่เข้ารักษาอยู่ในช่วงอายุ 20-29 ปี แต่ร้อยละ 70 เริ่มเสพสารเสพติดตั้งแต่อายุต่ำกว่า 19 ปี ผู้เข้ารักษาเฮโรอีนมากกว่าครึ่งเสพโดยวิธีการฉีดเข้าเส้น จากระบบการเฝ้าระวังผู้ติดเชื้อไวรัสเอดส์ที่เก็บตัวอย่างจากผู้ฉีดยาเสพติดในสถานพยาบาล อัตราการติดเชื้อไวรัสเอดส์ในกลุ่มนี้ ยังสูงอยู่ถึงร้อยละ 40-50 เป็นเช่นนี้ตลอด 5 ปีหลังมานี้ โดยที่ส่วนใหญ่ตัวอย่างจะมาจากผู้ฉีดเฮโรอีน อัตราการติดเชื้อจากผู้ใช้ยาบ้าและสารชนิดอื่นถึงแม้ว่าแต่ละสารฯ จะต่ำกว่าร้อยละ 10 แต่เมื่อรวมกันแล้วก็มีอัตราเพิ่มขึ้น จากการศึกษาเชิงคุณภาพหญิงขายบริการและประมงที่เสพสารเสพติด พบว่ามีการใช้สารกระตุ้นเพื่อการมีเพศสัมพันธ์ เหตุผลง่ายๆ ก็คือความเชื่อและประสบการณ์ที่ว่าสารฯ เหล่านั้นช่วยกระตุ้นความต้องการทางเพศ ถึงแม้ว่ารัฐจะขยายจำนวนสถานพยาบาลและปรับวิธีการรักษาแต่ประสิทธิภาพของการบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดคงจะต้องมีการพัฒนามากขึ้น นอกจากนี้แนวโน้มในการใช้สารกระตุ้นที่มีหลากหลายและหาได้ง่าย ชี้ให้เห็นถึงโอกาสของกลุ่มที่ใช้สารเสพติดต่อการติดเชื้อไวรัสเอดส์ ถ้าพิจารณาในระยะยาวแนวโน้มดังกล่าวน่าจะวิกฤตทั้งผู้ฉีดสารเสพติดและผู้ใช้สารกระตุ้น 2009-01-13T03:19:54Z 2009-01-13T03:19:54Z 2547 Article วารสารประชากรศาสตร์. 20,2(ก.ย. 2547),47-61 0857-2143 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8641 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 461 bytes text/html text/html จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ยาเสพติด -- การรักษา
spellingShingle ยาเสพติด -- การรักษา
อุษณีย์ พึ่งปาน
การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
description การบำบัดรักษาสารเสพติด -- ประชากรที่เข้ารับการบำบัดรักษา -- การเสพสารเสพติดกับการติดเชื้อไวรัสเอดส -- ทัศนคติของการใช้สารเสพติด
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์
อุษณีย์ พึ่งปาน
format Article
author อุษณีย์ พึ่งปาน
author_sort อุษณีย์ พึ่งปาน
title การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
title_short การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
title_full การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
title_fullStr การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
title_full_unstemmed การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
title_sort การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดเพียงพอไหมที่จะแก้ปัญหา?
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8641
_version_ 1681410078496784384