การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย

จากการศึกษากระบวนการสกัดน้ำมันของเมล็ดแมงลัก พบว่า การสกัดด้วยวิธี Supercritical carbondioxide extraction ซึ่งเป็นการสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวที่อุณหภูมิต่ำความดันสูงแม้จะได้ปริมาณน้ำมันที่สกัดออกมาต่ำกว่า การสกัดด้วยวิธีแบบดั้งเดิม (Solvent extraction) ที่ใช้ตัวทำละลายเฮกเซน หรือปิโตรเลี่ยมอีเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศรินทิพ สุกใส, ศจี น้อยตั้ง
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8711
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8711
record_format dspace
spelling th-cuir.87112009-07-01T07:28:53Z การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย Extraction of oil from hairy basil (Ocimum spp.) seeds and swelling properties of mucilage from seed residues ศรินทิพ สุกใส ศจี น้อยตั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ เมล็ดแมงลัก พืชน้ำมัน การสกัดด้วยสารตัวทำละลาย จากการศึกษากระบวนการสกัดน้ำมันของเมล็ดแมงลัก พบว่า การสกัดด้วยวิธี Supercritical carbondioxide extraction ซึ่งเป็นการสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวที่อุณหภูมิต่ำความดันสูงแม้จะได้ปริมาณน้ำมันที่สกัดออกมาต่ำกว่า การสกัดด้วยวิธีแบบดั้งเดิม (Solvent extraction) ที่ใช้ตัวทำละลายเฮกเซน หรือปิโตรเลี่ยมอีเธอร์ ที่อุณหภูมิสูง แต่น้ำมันที่สกัดได้มีคุณลักษณะคล้ายกัน คือมีค่าความถ่วงจำเพาะที่ 0.90 – 0.92 มิลลิลิตร/กรัม, มีค่า Insoluble impurities อยู่ในปริมาณร้อยละ0.07 – 0.12, ค่า Refractive Index อยู่ในช่วง 1.4720 – 1.4795, มีกลิ่นเหม็นเขียวและรู้สึกเย็นขึ้นจมูกเล็กน้อย นอกจากนี้ น้ำมันที่สกัดด้วยวิธี Supercritical carbondioxide extraction ยังมีค่า Acid value และค่าความชื้นและสารระเหยที่ปนอยู่ในน้ำมันต่ำที่สุด และมีองค์ประกอบของกรดไขมันไม่อิ่มตัวรวมสูงถึง 90% คือ กรดลิโนลินิค (C18:3) 54.26%, กรดลิโนลิอิก (C18:2) 22.14%, กรดโอลิอิก (C18:1) 14.21% และกากที่เหลือหลังสกัดน้ำมันแล้วมีค่าความสามารถในการพองตัว (90 มิลลิลิตร/กรัม) และการอุ้มน้ำ (52 กรัม/กรัม) สูงขึ้น เมื่อเทียบกับค่าความสามารถในการพองตัว (49มิลลิลิตร/กรัม) และการอุ้มน้ำ (32 กรัม/กรัม) ของเมล็ดแมงลักก่อนการสกัดน้ำมัน In this work, oil extraction from Hairy Basil seeds using different techniques was studied. The results showed that the lower amount of oil was obtained when using liquid carbondioxide extraction at low temperature and high pressure, so called “Supercritical carbondioxide extraction”, as compared with a classical solvent extraction using hexane or petroleum ether at high temperature. Nonetheless, the properties of the oil extracted by 2 different methods including specific gravity (0.90 – 0.92 ml/g), insoluble impurities (0.07 – 0.12%), and refractive index (1.4720 – 1.4795) with the icy-foul smelling were similar. However, the lower acid value, moisture content, and volatile matter were obtained when using Supercritical carbondioxide extraction. High unsaturated fatty acid composition up to 90% was also obtained. Those unsaturated fatty acid included 54.26% of linolenic acid (C18:3), 22.14% of linoleic acid (C18:2), and 14.21% of oleic acid (C18:1). In addition, specific swelling volume (90 ml/g) and water holding capacity (52 g/g) of seed residues after extraction were higher than those of Hairy Basil seeds before entering oil extraction process (49 ml/g and 32 g/g, respectively). ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2009-01-22T01:50:35Z 2009-01-22T01:50:35Z 2550 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8711 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 911644 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เมล็ดแมงลัก
พืชน้ำมัน
การสกัดด้วยสารตัวทำละลาย
spellingShingle เมล็ดแมงลัก
พืชน้ำมัน
การสกัดด้วยสารตัวทำละลาย
ศรินทิพ สุกใส
ศจี น้อยตั้ง
การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
description จากการศึกษากระบวนการสกัดน้ำมันของเมล็ดแมงลัก พบว่า การสกัดด้วยวิธี Supercritical carbondioxide extraction ซึ่งเป็นการสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวที่อุณหภูมิต่ำความดันสูงแม้จะได้ปริมาณน้ำมันที่สกัดออกมาต่ำกว่า การสกัดด้วยวิธีแบบดั้งเดิม (Solvent extraction) ที่ใช้ตัวทำละลายเฮกเซน หรือปิโตรเลี่ยมอีเธอร์ ที่อุณหภูมิสูง แต่น้ำมันที่สกัดได้มีคุณลักษณะคล้ายกัน คือมีค่าความถ่วงจำเพาะที่ 0.90 – 0.92 มิลลิลิตร/กรัม, มีค่า Insoluble impurities อยู่ในปริมาณร้อยละ0.07 – 0.12, ค่า Refractive Index อยู่ในช่วง 1.4720 – 1.4795, มีกลิ่นเหม็นเขียวและรู้สึกเย็นขึ้นจมูกเล็กน้อย นอกจากนี้ น้ำมันที่สกัดด้วยวิธี Supercritical carbondioxide extraction ยังมีค่า Acid value และค่าความชื้นและสารระเหยที่ปนอยู่ในน้ำมันต่ำที่สุด และมีองค์ประกอบของกรดไขมันไม่อิ่มตัวรวมสูงถึง 90% คือ กรดลิโนลินิค (C18:3) 54.26%, กรดลิโนลิอิก (C18:2) 22.14%, กรดโอลิอิก (C18:1) 14.21% และกากที่เหลือหลังสกัดน้ำมันแล้วมีค่าความสามารถในการพองตัว (90 มิลลิลิตร/กรัม) และการอุ้มน้ำ (52 กรัม/กรัม) สูงขึ้น เมื่อเทียบกับค่าความสามารถในการพองตัว (49มิลลิลิตร/กรัม) และการอุ้มน้ำ (32 กรัม/กรัม) ของเมล็ดแมงลักก่อนการสกัดน้ำมัน
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์
ศรินทิพ สุกใส
ศจี น้อยตั้ง
format Technical Report
author ศรินทิพ สุกใส
ศจี น้อยตั้ง
author_sort ศรินทิพ สุกใส
title การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
title_short การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
title_full การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
title_fullStr การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
title_full_unstemmed การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
title_sort การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ : รายงานวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8711
_version_ 1681409812661796864