การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ

ทำการสังเคราะห์อนุภาคนาโนโพลียูรีเธนกึ่งชอบกึ่งไม่ชอบน้ำ (APU) เพื่อใช้ดูดซับ/กำจัดสารฆ่าแมลงออแกนโนคลอรีน 5 ชนิด ได้แก่ เบนซีนเฮกซะคลอไรด์ เฮปตะคลอร์ อัลดริน ดีลดริน เอ็นดริน และดีดีที จากดิน APU ที่สังเคราะห์ได้ส่วนใหญ่มีขนาด 55-155 nm.และใช้ความเข้มข้น ที่ให้ผลดีที่สุด 10 g. l.[superscript -1] ตล...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8712
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8712
record_format dspace
spelling th-cuir.87122009-07-01T11:24:43Z การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ Use of amphiphilic polyurethane nanopolymer to sorb organochlorine from soil and sorption prediction เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม สารออร์แกนโนคลอรีน โพลิเมอร์ โพลิยูริเธน การดูดซับ นาโนเทคโนโลยี ดิน -- การวิเคราะห์ ทำการสังเคราะห์อนุภาคนาโนโพลียูรีเธนกึ่งชอบกึ่งไม่ชอบน้ำ (APU) เพื่อใช้ดูดซับ/กำจัดสารฆ่าแมลงออแกนโนคลอรีน 5 ชนิด ได้แก่ เบนซีนเฮกซะคลอไรด์ เฮปตะคลอร์ อัลดริน ดีลดริน เอ็นดริน และดีดีที จากดิน APU ที่สังเคราะห์ได้ส่วนใหญ่มีขนาด 55-155 nm.และใช้ความเข้มข้น ที่ให้ผลดีที่สุด 10 g. l.[superscript -1] ตลอดการทดลอง ระยะเวลาสัมผัสที่ทำให้ APU และดินที่ใส่สารสู่สมดุล คือ 48 h และให้ผลดูดซับดีที่สุด ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าปัจจัยอิทธิพลต่อการดูดซับได้แก่ สมบัติของสารและดิน องค์ประกอบคาร์บอนอินทรีย์และดินเหนียวมีบทบาทต่อการดูดซับเช่นเดียวกับค่า logK[subscript OC] ทั้งนี้เนื่องจากสารทดสอบไม่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกันทั้งหมด การพยากรณ์จากสมบัติของสารจึงไม่สำเร็จยกเว้นในกลุ่มของเฮปตะคลอร์ อัลดริน ดีลดริน เอ็นดริน ที่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกัน ค่าของ Log K[subscript ow] และการละลายน้ำ (S) ในงานวิจัยมีค่าต่างๆกันขึ้นกับเงื่อนไขการทดลอง ดังนั้นจึงไม่มีค่าที่เชื่อถือได้มาใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์กับการดูดซับได้ ส่วนในกลุ่มที่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกัน น้ำหนักโมเลกุล (MW) และการดูดซับมีความเกี่ยวพันกันอย่างไม่มีข้อสงสัย ความสามารถในการดูดซับ/กำจัดอยู่ในช่วง 85.2-92.8% ในทุกตัวอย่างดินโดยที่ เบนซีนเฮกซะคลอไรด์>เอ็นดริน> ดีลดริน> เฮปตะคลอร์> อัลดริน>ดีดีที ซึ่งสอดคล้องกับค่า log K[subscript oc] ที่เพิ่มขึ้นของสาร Amphiphilic polyurethane nanoparticles (APU) were synthesized to examine sorption/removal of five organochlorine insecticides including benzene hexachloride, heptachlor, aldrin, dieldrin, endrin, and DDT from soil. Synthesized APU in the most size range of 55-155 nm and with concentration of 10 g. l.[superscript -1] were found most effective and used for the whole experiment. Contact time which allowed APU solution and spiked soil to reach equilibrium was of 48 h exhibited most efficient sorption/removal. The results indicated influencing factors for the sorption were both properties of soil and compounds. Organic carbon and clay contents play important role on the sorption as well as log K[subscript OC] values. Since the testing compounds were not all similar molecular structure, the prediction from their properties were not successful except those of heptachlor, aldrin, dieldrin, endrin which have similar in molecular structures. Log K[subscript OW] and aqueous solubility (S) values in the literature were varied depending on their experimental conditions, therefore no reliable values can be used for the test of their relationships to the sorption activity. In the group of similar molecular structure, MW and sorption was undoubtedly related. The sorption/removal capacity found to be in the range of 85.2-92.8% for all soil samples and in the order of benzene hexachloride>endrin>dieldrin>heptachlor>aldrin>DDT according to their increasing log K[subscript OC]. ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2009-01-22T02:11:43Z 2009-01-22T02:11:43Z 2551 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8712 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 942234 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สารออร์แกนโนคลอรีน
โพลิเมอร์
โพลิยูริเธน
การดูดซับ
นาโนเทคโนโลยี
ดิน -- การวิเคราะห์
spellingShingle สารออร์แกนโนคลอรีน
โพลิเมอร์
โพลิยูริเธน
การดูดซับ
นาโนเทคโนโลยี
ดิน -- การวิเคราะห์
เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์
การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
description ทำการสังเคราะห์อนุภาคนาโนโพลียูรีเธนกึ่งชอบกึ่งไม่ชอบน้ำ (APU) เพื่อใช้ดูดซับ/กำจัดสารฆ่าแมลงออแกนโนคลอรีน 5 ชนิด ได้แก่ เบนซีนเฮกซะคลอไรด์ เฮปตะคลอร์ อัลดริน ดีลดริน เอ็นดริน และดีดีที จากดิน APU ที่สังเคราะห์ได้ส่วนใหญ่มีขนาด 55-155 nm.และใช้ความเข้มข้น ที่ให้ผลดีที่สุด 10 g. l.[superscript -1] ตลอดการทดลอง ระยะเวลาสัมผัสที่ทำให้ APU และดินที่ใส่สารสู่สมดุล คือ 48 h และให้ผลดูดซับดีที่สุด ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าปัจจัยอิทธิพลต่อการดูดซับได้แก่ สมบัติของสารและดิน องค์ประกอบคาร์บอนอินทรีย์และดินเหนียวมีบทบาทต่อการดูดซับเช่นเดียวกับค่า logK[subscript OC] ทั้งนี้เนื่องจากสารทดสอบไม่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกันทั้งหมด การพยากรณ์จากสมบัติของสารจึงไม่สำเร็จยกเว้นในกลุ่มของเฮปตะคลอร์ อัลดริน ดีลดริน เอ็นดริน ที่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกัน ค่าของ Log K[subscript ow] และการละลายน้ำ (S) ในงานวิจัยมีค่าต่างๆกันขึ้นกับเงื่อนไขการทดลอง ดังนั้นจึงไม่มีค่าที่เชื่อถือได้มาใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์กับการดูดซับได้ ส่วนในกลุ่มที่มีโครงสร้างโมเลกุลคล้ายกัน น้ำหนักโมเลกุล (MW) และการดูดซับมีความเกี่ยวพันกันอย่างไม่มีข้อสงสัย ความสามารถในการดูดซับ/กำจัดอยู่ในช่วง 85.2-92.8% ในทุกตัวอย่างดินโดยที่ เบนซีนเฮกซะคลอไรด์>เอ็นดริน> ดีลดริน> เฮปตะคลอร์> อัลดริน>ดีดีที ซึ่งสอดคล้องกับค่า log K[subscript oc] ที่เพิ่มขึ้นของสาร
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์
format Technical Report
author เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์
author_sort เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์
title การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
title_short การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
title_full การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
title_fullStr การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
title_full_unstemmed การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
title_sort การใช้โพลีเมอร์นาโนแอมฟิฟิลลิคโพลียูรีเธนในการดูดซับสารออแกนโนคลอรีนจากดินและการพยากรณ์การดูดซับ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8712
_version_ 1681412138614128640