การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท

เปรียบเทียบอัตราการผสมติดของแม่พันธุ์ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียนในฟาร์มโคนมแห่งหนึ่งในช่วงเดือนตุลาคม 2542 – มีนาคม 2543 ระหว่างแม่โคที่เหนี่ยวนำการเป็นสัดโดยการเหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลและการตกไข่แล้วกำหนดการผสมเทียมกับแม่โคที่ผสมเทียมตามโปรแกรมการจัดการปกติของฝูง โดยสุ่มแบ่งแม่โคออกเป็น 2 กลุ่ม คือ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ศิริวัฒน์ ทรวดทรง, นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์, ปราจีน วีรกุล, จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8723
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.8723
record_format dspace
spelling th-cuir.87232009-03-02T04:13:47Z การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท Improving of reproductive performance in dairy cows by using combination of progesterone and estradiol benzoate ศิริวัฒน์ ทรวดทรง นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์ ปราจีน วีรกุล จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ โคนม -- การสืบพันธุ์ โปรเจสเตอโรน เอสตราไดออลเบนโซเอท โปรเจสเตอโรน เอสตราไดออล เบนโซเอท ผสมเทียมแบบกำหนดเวลา อัตราผสมติด แม่โคนม เปรียบเทียบอัตราการผสมติดของแม่พันธุ์ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียนในฟาร์มโคนมแห่งหนึ่งในช่วงเดือนตุลาคม 2542 – มีนาคม 2543 ระหว่างแม่โคที่เหนี่ยวนำการเป็นสัดโดยการเหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลและการตกไข่แล้วกำหนดการผสมเทียมกับแม่โคที่ผสมเทียมตามโปรแกรมการจัดการปกติของฝูง โดยสุ่มแบ่งแม่โคออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มแม่โคที่เหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลด้วยโปรเจสเตอโรนชนิดสอดเข้าช่องคลอดร่วมกับเอสตราไดออลเบนโซเอทและพรอสตาแกลนดินเอฟ ทู อัลฟาและผสมเทียมที่เวลา 54-60 ชม. หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนโดยไม่ต้องสังเกตอาการเป็นสัด (n = 103 ตัว) และกลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มแม่โคที่เป็นสัดตามธรรมชาติและทำการผสมเทียมที่เวลา 12 ชม. หลังจากพบอาการเป็นสัดและยืนนิ่ง (n = 132 ตัว) แบ่งแม่โคกลุ่มทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ 1 ทำการผสมเทียมที่เวลา 54-60 ชม.หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนออก (n = 46 ตัว) และกลุ่มทดลองที่ 2 ฉีดเอสตราไดออล เบนโซเอทขนาด 1 มก. หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนออก 24 ชม. เพื่อเหนี่ยวนำการตกไข่ให้ใกล้เคียงกันแล้วทำการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาเช่นเดียวกับกลุ่มทดลองที่ 1 (n = 57 ตัว) ผลการทดลองพบว่าอัตราการผสมติดของแม่โคกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (26.10% และ 31.58 %ตามลำดับ ; p>0.05) และอัตราการผสมติดของแม่โคกลุ่มที่เหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลแล้วผสมเทียมแบบกำหนดเวลาสูงกว่ากลุ่มแม่โคที่ผสมเทียมตามการจัดการปกติของฝูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (29.13% และ18.18%ตามลำดับ ; p>0.05) สรุปได้ว่าโปรแกรมการเหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลและการตกไข่นี้ สามารถนำมาใช้เหนี่ยวนำการเป็นสัดแล้วทำการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาโดยไม่ต้องสังเกตอาการเป็นสัดได้และสามารถช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ของฝูงโคนม Two hundred and thirty five crossbred Holstein-Friesian cows were used in this study. Their conception rates after estrus synchronization with progesterone, estradiol benzoate and fixed-time AI were compared with nonsynchronized cows in one herd between October 1999-March 2000. Cows were assigned randomly to two groups: 1) a follicular synchronized (N=103) group and 2) a control (N=132) group. Cows in the follicular synchronized group were treated with a combination of progesterone (CIDR-B), estradiol benzoate, and PGF2alpha and were inseminated once between 54 and 60 h. after progesterone removal. Cows in control group were inseminated 12 h. after observed natural standing heat. In addition, cows in follicular synchronized group were assigned to one of the two treatments: 1) fixed-time AI after progesterone removal between 54-60 h. (T1; N=46) or 2) injection of 1 mg. estradiol benzoate 24 h. after progesterone removal for synchronized ovulation and fixed-time AI as cows in T1 (T2; N= 57). The conception rate in T1 (26.10%) and T2 (31.58%) was not significantly different (p>0.05). In addition, the conception rate of synchronized cows with fixed-time AI (29.13%) was significantly higher than that of the control cows (18.18/%) (p<0.05). It is concluded that these programs can be used successfully to synchronize dairy cows for fixed-time AI and improved the reproductive performance in dairy herd. 2009-01-26T08:20:36Z 2009-01-26T08:20:36Z 2543 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8723 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4080683 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โคนม -- การสืบพันธุ์
โปรเจสเตอโรน
เอสตราไดออลเบนโซเอท
โปรเจสเตอโรน
เอสตราไดออล
เบนโซเอท
ผสมเทียมแบบกำหนดเวลา
อัตราผสมติด
แม่โคนม
spellingShingle โคนม -- การสืบพันธุ์
โปรเจสเตอโรน
เอสตราไดออลเบนโซเอท
โปรเจสเตอโรน
เอสตราไดออล
เบนโซเอท
ผสมเทียมแบบกำหนดเวลา
อัตราผสมติด
แม่โคนม
ศิริวัฒน์ ทรวดทรง
นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์
ปราจีน วีรกุล
จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร
การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
description เปรียบเทียบอัตราการผสมติดของแม่พันธุ์ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียนในฟาร์มโคนมแห่งหนึ่งในช่วงเดือนตุลาคม 2542 – มีนาคม 2543 ระหว่างแม่โคที่เหนี่ยวนำการเป็นสัดโดยการเหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลและการตกไข่แล้วกำหนดการผสมเทียมกับแม่โคที่ผสมเทียมตามโปรแกรมการจัดการปกติของฝูง โดยสุ่มแบ่งแม่โคออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองเป็นกลุ่มแม่โคที่เหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลด้วยโปรเจสเตอโรนชนิดสอดเข้าช่องคลอดร่วมกับเอสตราไดออลเบนโซเอทและพรอสตาแกลนดินเอฟ ทู อัลฟาและผสมเทียมที่เวลา 54-60 ชม. หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนโดยไม่ต้องสังเกตอาการเป็นสัด (n = 103 ตัว) และกลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มแม่โคที่เป็นสัดตามธรรมชาติและทำการผสมเทียมที่เวลา 12 ชม. หลังจากพบอาการเป็นสัดและยืนนิ่ง (n = 132 ตัว) แบ่งแม่โคกลุ่มทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ 1 ทำการผสมเทียมที่เวลา 54-60 ชม.หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนออก (n = 46 ตัว) และกลุ่มทดลองที่ 2 ฉีดเอสตราไดออล เบนโซเอทขนาด 1 มก. หลังจากถอดโปรเจสเตอโรนออก 24 ชม. เพื่อเหนี่ยวนำการตกไข่ให้ใกล้เคียงกันแล้วทำการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาเช่นเดียวกับกลุ่มทดลองที่ 1 (n = 57 ตัว) ผลการทดลองพบว่าอัตราการผสมติดของแม่โคกลุ่มทดลองที่ 1 และกลุ่มทดลองที่ 2 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (26.10% และ 31.58 %ตามลำดับ ; p>0.05) และอัตราการผสมติดของแม่โคกลุ่มที่เหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลแล้วผสมเทียมแบบกำหนดเวลาสูงกว่ากลุ่มแม่โคที่ผสมเทียมตามการจัดการปกติของฝูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (29.13% และ18.18%ตามลำดับ ; p>0.05) สรุปได้ว่าโปรแกรมการเหนี่ยวนำการเจริญของฟอลลิเคิลและการตกไข่นี้ สามารถนำมาใช้เหนี่ยวนำการเป็นสัดแล้วทำการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาโดยไม่ต้องสังเกตอาการเป็นสัดได้และสามารถช่วยเพิ่มสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ของฝูงโคนม
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
ศิริวัฒน์ ทรวดทรง
นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์
ปราจีน วีรกุล
จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร
format Technical Report
author ศิริวัฒน์ ทรวดทรง
นวเพ็ญ ภูติกนิษฐ์
ปราจีน วีรกุล
จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร
author_sort ศิริวัฒน์ ทรวดทรง
title การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
title_short การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
title_full การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
title_fullStr การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
title_full_unstemmed การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
title_sort การเพิ่มสมรรถภาพการสืบพันธุ์ในแม่โคนมโดยใช้โปรเจสเตอโรนร่วมกับเอสตราไดออล เบนโซเอท
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8723
_version_ 1681410078672945152