องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8887 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.8887 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แพลงก์ตอน -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา โปรโตซัววิทยา แม่น้ำบางปะกง (ฉะเชิงเทรา) |
spellingShingle |
แพลงก์ตอน -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา โปรโตซัววิทยา แม่น้ำบางปะกง (ฉะเชิงเทรา) ศิริมาศ สุขประเสริฐ องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 |
author2 |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
author_facet |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ ศิริมาศ สุขประเสริฐ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ศิริมาศ สุขประเสริฐ |
author_sort |
ศิริมาศ สุขประเสริฐ |
title |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_short |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_full |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_fullStr |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_full_unstemmed |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_sort |
องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8887 |
_version_ |
1681413519553069056 |
spelling |
th-cuir.88872009-04-20T09:44:57Z องค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา Composition and abundance of planktonic protozoa in Bangpakong river mouth, Chachoengsao province ศิริมาศ สุขประเสริฐ อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ แพลงก์ตอน -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา โปรโตซัววิทยา แม่น้ำบางปะกง (ฉะเชิงเทรา) วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การศึกษาองค์ประกอบและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2547 รวม 8 สถานี โดยในเดือนกุมภาพันธ์ และเดือนธันวาคมซึ่งได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และเดือนเมษายนซึ่งอยู่ในช่วงเปลี่ยน มรสุมเป็นตัวแทนของฤดูแล้ง ส่วนเดือนกรกฎาคมและเดือนกันยายนเป็นตัวแทนของฤดูฝนเนื่องจากได้ รับอิทธิพลของลมฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำการเก็บและรักษาตัวอย่างแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว 3 กลุ่มขนาด ได้แก่ โพรโทซัวกลุ่มขนาดนาโนแพลงก์ตอน ขนาดไมโครแพลงก์ตอน และกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ กว่า 100 ไมครอน และตรวจวัดปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางสกายะและปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ในบริเวณที่ศึกษา ผลการศึกษาพบแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัว 3 กลุ่มอนุกรมวิธาน ได้แก่ กลุ่มซิลิเอต จำนวน 32 สกุล กลุ่มไดโนแฟลกเจลเลต จำนวน 6 สกุล และโพรโทซัวกลุ่ม Sarcodines จำนวน 24 สกุล และกลุ่ม แฟลกเจลเลตที่ไม่สามารถจัดจำแนกได้ คือ กลุ่ม Unidentifined nanoflagellate โพรโทซัวกลุ่มซิลิเอตมี สัดส่วนความชุกชุมสูงในกลุ่มขนาดนาโนแพลงก์ตอน (ร้อยละ 45) และขนาดไมโครแพลงก์ตอน (สูงกว่าร้อยละ 78) พบ Tintinnids เป็นองค์ประกอบหลัก กลุ่มไดโนแฟลกเจลเลตมีสัดส่วนความชุกชุมสูง ในกลุ่มขนาดนาโนแพลงก์ตอนและในกลุ่มที่มีขนาดใหญ่กว่า 100 ไมครอน (ร้อยละ 40 และสูงกว่าร้อยละ 85 ตามลำดับ) โดยกลุ่มที่มีสัดส่วนความชุกชุมสูงสุด ได้แก่ Gymnodinoids ส่วนกลุ่ม Sarcodines มีขนาด ใหญ่กว่า 100 ไมครอน พบเรดิโอลาเรียมีสัดส่วนความชุกชุมสูงสุด m 520 การผันแปรความชุกชุมของโพรโทซัวทุกกลุ่มได้รับอิทธิพลจากการผันแปรของฤดูกาลโดยมีความชุกชุม ในฤดูแล้งสูงกว่าในฤดูฝน ความหนาแน่นเฉลี่ยของนาโนแพลงก์ตอนตลอดการศึกษาอยู่ในช่วง 104 เซลล์/ลิตร ส่วนความหนาแน่นเฉลี่ยของไมโครแพลงก์ตอนในฤดูแล้งและฤดูฝนมีค่า 10[superscript 2] – 10[superscript 3] เซลล์/ลิตร และกลุ่มที่มีขนาดใหญ่กว่า 100 ไมครอนมีความหนาแน่นเฉลี่ยในฤดูแล้งอยู่ ในช่วง 10[superscript 2] – 10[superscript 3] เซลล์/ลูกบาศก์เมตร และความหนาแน่นเฉลี่ยในฤดูฝนเท่ากับ 10 [superscript 2] เซลล์/ลูกบาศก์เมตร โพรโทซัวกลุ่มซิลิเอตและ Sarcodines มีความชุกชุมในบริเวณ ปากแม่น้ำสูงกว่าในทะเลตรงข้ามกับความชุกชุมของกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลต ทั้งนี้การผันแปรของปริมาณ ของแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มโพรโทซัวเป็นผลมาจากการกระทำร่วมกันของหลายปัจจัยในเวลาเดียวกัน ได้แก่ อุณหภูมิ ความเค็ม ปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ และการถูกล่าจากผู้ล่า จากการศึกษาครั้งนี้กล่าวได้ว่าโพรโทซัว บริเวณปากแม่น้ำบางปะกงมีความหลากหลายและความหนาแน่นสูงและมีบทบาทเป็นตัวส่งผ่านผลผลิตของพิโคแพลงก์ตอนและนาโนแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารไปสู่แพลงก์ตอนสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่าในสายใยอาหารซึ่งเป็นการเพิ่มความซับซ้อนของสายใยอาหารในบริเวณนี้และส่งเสริมเสถียรภาพของระบบนิเวศปากแม่น้ำบางปะกง Communities of planktonic protozoa in the vicinity of Bangpakong estuary of Chachoengsao Province were studied in dry season (February, April and December 2004) and wet season (July and September 2004). Diversity and abundance of planktonic protozoa was separated into three size classes of nanoplanktonic protozoans, microplanktonic protozoans and protozoans that larger than 100 micrometers. Environment parameters were investigated in situ and the concentrations of chlorophyll a were also analyzed. Ciliates were the most diverse genera composing of 32 genera with 45% contribution of total density of nanoplanktonic protozoans and over 78% of total density of micro-sized protozoans. Six genera of heterotrophic dinoflagellates were recorded and contributed up to 85% of total density. Another group of protozoan was the Sarcodines with the representatives of 24 genera. Average protozoan densities of all size classes in dry season were higher than those of the wet season. The abundance of nanoplanktonic protozoans was in the range of 10[superscript 4] cells/l in both dry and wet seasons while an average density of microplanktonic protozoans was in the range of 10[superscript 2]–10[superscript3] cells/l in both seasons. An average density of planktonic protozoans larger than 100 micrometers was in the range of 10[superscript 2]–10[superscript3] cells/m[superscript3] in dry season and 10[superscript 2]cells/m[superscript3] in wet season. The abundances of ciliates protozoans and sarcodines were higher in the river mouth and the densities decreased offshore while the densities of heterotrophic dinoflagellates showed the reverse trend. Variations in planktonic protozoa density may be under the influences of environmental factors namely temperature, salanity, chlorophyll a which represented the abundance of protozoan food and predator. High diversity and abundance of planktonic protozoans refer to complexity of food webs in the Bangpakong estuarine region was the indicator of the stability of the estuarine ecosystem. 2009-04-20T09:44:56Z 2009-04-20T09:44:56Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8887 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2683722 bytes application/pdf application/pdf ไทย ฉะเชิงเทรา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |