"แขก" ในโคลงภาพคนต่างภาษาที่วัดโพธิ์ ภาพสะท้อนมุสลิมศึกษาในหมู่ปัญญาชนสยามสมัยต้นรัตนโกสินทร์

ความรู้เกี่ยวกับมุสลิมหรือ “มุสลิมศึกษา” (Muslim Studies) ในสังคมไทยปรากฏอยู่ในหลักฐานทั้งลายลักษณ์และงานสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ความรู้ดังกล่าวยังคงสืบทอดต่อกันมาและนำเสนอสู่สังคมในรูปแบบต่างๆ บทความเรื่องนี้ต้องการอธิบายถึงชุดความรู้เกี่ยวกับมุสลิมกลุ่มต่าง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8932
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
Description
Summary:ความรู้เกี่ยวกับมุสลิมหรือ “มุสลิมศึกษา” (Muslim Studies) ในสังคมไทยปรากฏอยู่ในหลักฐานทั้งลายลักษณ์และงานสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ความรู้ดังกล่าวยังคงสืบทอดต่อกันมาและนำเสนอสู่สังคมในรูปแบบต่างๆ บทความเรื่องนี้ต้องการอธิบายถึงชุดความรู้เกี่ยวกับมุสลิมกลุ่มต่างๆ บทความเรื่องนี้ต้องการอธิบายถึงชุดความรู้เกี่ยวกับมุสลิมกลุ่มต่างๆซึ่งรับรู้ในหมู่ปัญญาชนชาวสยามสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นโดยศึกษาผ่านทางงานประพันธ์และศิลปกรรมที่เกี่ยวข้องกับมุสลิมที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ซึ่งการรับรู้เกี่ยวกับมุสลิมในหลักฐานดังกล่าวมีรูปแบบที่เป็นสหวิทยาการเกิดจากการผสมผสานภูมิความรู้เดิมที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาเข้ากับความรู้ด้านชาติพันธุ์วรรณาที่ได้รับอิทธิพลมาจากโลกทัศน์ตะวันตกซึ่งเข้ามาสู่สังคมสยามตั้งแต่รัชกาลที่ 3 จนเกิดเป็นชุดความรู้และได้รับการจารจารึกไว้ที่มหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกของสยามประเทศ