การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9004 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9004 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.90042009-07-23T02:46:32Z การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร Division of urban planning administration of Bangkok Metropolis หทัยพัชร จิตบรรเทา นพนันท์ ตาปนานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร -- การบริหาร ผังเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะการแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับแผนการพัฒนาของกรุงเทพมหานครในอนาคต การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานครในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการแบ่งพื้นที่การบริหาร (Administrative Unit) จากขอบเขตของกรุงเทพมหานครลงเป็นหน่วยพื้นที่บริหารย่อยบนฐานของลักษณะและความสัมพันธ์ร่วมกันในพื้นที่ โดยใช้หน่วยการปกครองระดับเขตเป็นฐานในการแบ่ง มีวิธีการศึกษา คือ การวิเคราะห์โครงสร้างเมืองที่สอดคล้องกับทิศทางการเติบโตในอนาคตตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) ซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่า โครงสร้างเมืองของกรุงเทพมหานครประกอบด้วย เขตอนุรักษ์ เขตศูนย์กลางเมือง เขตที่อยู่อาศัย เขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม และเขตชนบท จากนั้นนำโครงสร้างเมืองของกรุงเทพมหานครมาวิเคราะห์เพื่อแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองโดยวิธีการซ้อนทับ (Overlay) แผนที่ กับเขตการบริหารสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานครในช่วงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับดังกล่าวซึ่งได้แก่ การป้องกันน้ำท่วม การกำจัดขยะ การกำจัดน้ำเสีย การขนส่ง มวลชน การสาธารณสุข และการศึกษา โดยคำนึงถึงข้อพิจารณาทางด้านสภาพทางภูมิศาสตร์และหลักการกำหนดพื้นที่การบริหารที่เหมาะสม จากการวิเคราะห์สามารถแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานครได้ 13 เขต โดยเป็นเขตการบริหารการผังเมืองที่มีความเหมาะสมทางด้านสภาพภูมิศาสตร์และการกำหนดพื้นที่การบริหารซึ่งมีความสอดคล้องกับโครงสร้างเมืองในอนาคต และการบริหารสาธารณูปโภคและสาธารณูปการของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีประโยชน์ในการจัดระเบียบในการวางแผนและการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร ซึ่งจะทำให้เกิดการประสานงานและการนำแผนไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากการแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร สามารถนำมาสรุปเป็นข้อเสนอแนะเพื่อการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานครที่มีประสิทธิภาพ คือ เขตการบริหารการผังเมือง 13 เขตที่เสนอจะเป็นหน่วยการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยการจัดทำแผนรายละเอียด การจัดทำงบประมาณ รวมถึงการบริหารสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ควรมีการจัดทำตามเขตการบริหารการผังเมืองที่ได้เสนอไว้ในการศึกษาครั้งนี้ This study has the objective to propose an efficient division of urban planning addministration of Bangkok Metropolis which is corresponding to development plan for future Bangkok Metropolis. In this study, the Bangkok area is divided into administrative units based on the common characteristics and correlation in the area. To analyze the urban structure which is appropriate to future urban growth direction as stated in the Bangkok Comprehensive Plan (first revised version), the different urban land utilization units map was overlayed with the public utility and facility map. The urban land utilizations consist of land conservation area, city center area, residential area, rural and agricultural conservation area, and rural area. The public utility and facility consist of flood prevention, garbage disposal, water contamination treatment, public transport, public health, and education. In dividing urban planning administration unit, a consideration of suitable geographic and zoning measures should be taken into account. The study found that the urban planning administration of Bangkok Metropolis can be divided into 13 units which are geographically suitable as well as corresponding to future urban structure in harmonization with the public utility and facility administration of Bangkok Metropolis. Findings of the study can be summarized as policy implication that in preparations of detailed planning, budget, including public utility and facility administration should be based on the 13 urban planning administration units of Bangkok Metropolis as defined in this study. 2009-06-11T01:38:49Z 2009-06-11T01:38:49Z 2543 Thesis 9741312695 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9004 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7028013 bytes application/pdf application/pdf ไทย กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
กรุงเทพมหานคร -- การบริหาร ผังเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
spellingShingle |
กรุงเทพมหานคร -- การบริหาร ผังเมือง -- ไทย -- กรุงเทพฯ หทัยพัชร จิตบรรเทา การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
description |
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
นพนันท์ ตาปนานนท์ |
author_facet |
นพนันท์ ตาปนานนท์ หทัยพัชร จิตบรรเทา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
หทัยพัชร จิตบรรเทา |
author_sort |
หทัยพัชร จิตบรรเทา |
title |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
title_short |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
title_full |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
title_fullStr |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
title_full_unstemmed |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
title_sort |
การแบ่งเขตการบริหารการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9004 |
_version_ |
1681409391395340288 |