ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9023 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9023 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แพลงค์ตอนสัตว์ แม่น้ำท่าจีน |
spellingShingle |
แพลงค์ตอนสัตว์ แม่น้ำท่าจีน ณัฎฐินี เอี่ยมสมบูรณ์ ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ |
author_facet |
อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ ณัฎฐินี เอี่ยมสมบูรณ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ณัฎฐินี เอี่ยมสมบูรณ์ |
author_sort |
ณัฎฐินี เอี่ยมสมบูรณ์ |
title |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
title_short |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
title_full |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
title_fullStr |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
title_full_unstemmed |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
title_sort |
ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9023 |
_version_ |
1681413796379230208 |
spelling |
th-cuir.90232009-07-22T07:39:33Z ความชุกชุมของกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Abundance of shrimp, crab and fish larvae in Tha-Chin estuary, Samut Sakhon province ณัฎฐินี เอี่ยมสมบูรณ์ อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์ ณิฏฐารัตน์ ปภาวสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ แพลงค์ตอนสัตว์ แม่น้ำท่าจีน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 การศึกษาองค์ประกอบประชากรแพลงก์ตอนสัตว์โดยเน้นศึกษากลุ่มกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อน บริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ได้ดำเนินการในระหว่างเดือนกรกฎาคม 2540 ถึงเดือนกรกฎาคม 2541 พร้อมทั้งได้ตรวจวัดปัจจัยสิ่งแวดล้อมในบริเวณที่ศึกษา พบแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมด 22 กลุ่ม จาก 13 ไฟลัม โดยมี copepods เป็นแพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มเด่น มีความหนาแน่นคิดเป็นร้อยละ 88.40 ของปริมาณแพลงก์ตอนสัตว์ทั้งหมดที่พบในแต่ละเดือน แพลงก์ตอนสัตว์กลุ่มเด่นที่พบรองลงมาและมีความสำคัญในระบบนิเวศปากแม่น้ำได้แก่ ตัวอ่อนเพรียง, ตัวอ่อนหอยฝาเดียว, ตัวอ่อนหอยสองฝา, หนอนธนู, Luciter และตัวอ่อน polychaete ความหนาแน่นเฉลี่ยของแพลงก์ตอนสัตว์สูงสุดในเดือนมกราคม 2541 เท่ากับ 1.53x10x10x10x10x10x10x10x10 ตัวต่อน้ำ 1,000 ลบ.ม. และต่ำสุดในเดือนกันยายน 2540 เท่ากับ 6.58x10x10x10x10x10 ตัวต่อน้ำ 1,000 ลบ.ม. กุ้งวัยอ่อนที่พบจากการศึกษาครั้งนี้มีทั้งหมด 12 ชนิดจาก 4 ครอบครัว มีความหนาแน่นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 29-858 ตัวต่อน้ำ 1,000 ลบ.ม. โดยมีครอบครัวเด่น คือ ครอบครัว Alpheidae (กุ้งดีดขัน) มีความหนาแน่นร้อยละ 56.81 ของกุ้งวัยอ่อนทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ครอบครัว Palaemonidae, Hippolytidae และครอบครัว Penaeidae ซึ่งเป็นครอบครัวของกุ้งทะเล ส่วนปูวัยอ่อนพบทั้งหมด 26 ชนิดจาก 6 ครอบครัว มีความหนาแน่นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 38-21,958 ตัวต่อน้ำ 1,000 ลบ.ม. โดยมีครอบครัวเด่น คือ ครอบครัว Grapsidae (ปูแสม) มีความหนาแน่นร้อยละ 53.34 ของปูวัยอ่อนทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ครอบครัว Ocypodidae (ปูก้ามดาบ) สำหรับปลาวัยอ่อนพบทั้งสิ้น 10 วงศ์ ปลาวัยอ่อนวงศ์ Gobiidae (ปลาบู่) เป็นวงศ์ที่พบได้เสมอและมีปริมาณสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 92 ของปริมาณปลาวัยอ่อนทั้งหมด รองลงมาได้แก่ปลาวัยอ่อนวงศ์ Engraulidae และ Clupeidae โดยปลาวัยอ่อนมีความหนาแน่นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 59-4,734 ตัวต่อน้ำ 1,000 ลบ.ม. การพบกุ้ง ปูและปลาวัยอ่อนเหล่านี้โดยเฉพาะครอบครัวกุ้งดีดขัน ปูแสม ปูก้ามดาบและปลาบู่ ซึ่งเป็นอาหารที่สำคัญของปลาและสัตว์น้ำชนิดต่างๆ การกระจายของแพลงก์ตอนสัตว์ กุ้ง ปูและปลาวัยอ่อนมีแนวโน้มชุกชุมบริเวณด้านนอก ปากแม่น้ำการผันแปรของประชากรแพลงก์ตอนสัตว์ กุ้ง ปูและปลาวัยอ่อนในบริเวณปากแม่น้ำท่าจีนขึ้นอยู่กับอิทธิพลของความเค็มของน้ำ อุณหภูมิ ออกซิเจนละลายและปริมาณอาหาร ผลจากการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของบริเวณปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ในแง่ของการเป็นแหล่งอนุบาล แหล่งอาหาร และแหล่งอาศัยของสัตว์น้ำ Study of zooplankton community with emphasis on shrimp, crab and fish larvae in Tha-Chin estuary, Samut Sakhon province, was carried out bimonthly from July 1997 to July 1998. Environmental parameters such as salinity, temperature, disslove oxygen and pH were also investigated. The zooplankton found in this estuary consisted of 33 groups from 13 phyla. Copepods was the dominant group with the relative abundance of 88.04% of total zoopolankton density in each sampling period. Cirripedia larvae, gastropod larvae, pelecypod larvae, chaetognaths, Lucifer and polychaete larvae were important group collected frequently in the estuary. Average density of zooplankton found was 6.58x10x10x10x10x10-1.53x10x10x10x10x10x10x10x10 ind. 1,000 m3 with the maximum density in January 1998 and the miniumum value in September 1997. Shrimp, crab and fish larvae were the minor zooplankton group in Tha-Chin estuary. Shrimp larvae were composed of 12 species from 4 families. Average density of shrimp larvae was 29-858. ind. 1,000 m3. The most abundant shrimp larvae was in family Alpheidae follwed by family Palaemonidae, Hipploytidae and family Penaeidae, respectively. On the other hand, 26 species from 6 family of crab larvae were recorded from this area. The range of average density found was 38-21,958 ind. 1,000 m3. The crab families found in abundance were Grapsidae and Ocypodidae. The total of 10 families of larval fish were recorded. Gobiidae larvae were most abundant, accounting for 92% of all specimens, while Engrulidae and Clupeidae were relatively common. Average density of fish larvae was 59-4,734. ind. 1,000 m3. Zooplankton in Tha-chin estuary play an important role as food sources for fish and other aquatic organisms, shrimp, crab and fish larvae found especially alpheid shrimp, grapsid and fiddle crab and goby fish. The distribution pattern of zooplankton, shrimp, crab and fish larvae, showed the tendency of high abundence in the outer part the estuary. There was a significant relationship between the density of zooplankton and the salinity of seawater, temperature, disslove oxygen and abundance of phytoplankton in this area. The results from this study indicates that Tha-Chin estuary is the important nursery ground, food sources and shelters for other aquatic organisms. 2009-06-11T02:33:07Z 2009-06-11T02:33:07Z 2543 Thesis 9743467238 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9023 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4653326 bytes application/pdf application/pdf ไทย สมุทรสาคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |