บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990

วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ
Other Authors: ผาสุก พงษ์ไพจิตร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9277
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.9277
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อุตสาหกรรมรถยนต์
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์
การพัฒนาอุตสาหกรรม
บรรษัทข้ามชาติ
spellingShingle อุตสาหกรรมรถยนต์
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์
การพัฒนาอุตสาหกรรม
บรรษัทข้ามชาติ
ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ
บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
description วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
author2 ผาสุก พงษ์ไพจิตร
author_facet ผาสุก พงษ์ไพจิตร
ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ
format Theses and Dissertations
author ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ
author_sort ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ
title บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
title_short บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
title_full บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
title_fullStr บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
title_full_unstemmed บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
title_sort บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9277
_version_ 1681411625147432960
spelling th-cuir.92772009-07-21T08:21:34Z บทบาทและการปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนไทย ในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในทศวรรษ 1990 The changing role of public and private sector in Thailand's automobile and parts industry in the 1990s ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ ผาสุก พงษ์ไพจิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ การพัฒนาอุตสาหกรรม บรรษัทข้ามชาติ วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 ด้วยศักยภาพของประเทศไทยที่มีขนาดตลาดรถยนต์สูงที่สุดในภูมิภาคอาเซียน และภาครัฐมีนโยบายเปิดรับการลงทุนในอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนฯ โดยเสรี เน้นใช้กลไกราคา ทำให้บรรษัทอุตสาหกรรมรถยนต์ข้ามชาติต่างมุ่งสนใจ และลงทุนเพื่อตั้งฐานการผลิตอุตสาหกรรมนี้ ซึ่งประเทศไทยคาดหวังว่าจะส่งผลในการพัฒนาให้เป็นฐานการส่งออกด้วย ผลการศึกษาพบว่ามีปัจจัยสำคัญที่กำหนดความสามารถและภาพอนาคต ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนฯ ในลักษณะอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า คือ การส่งออกต้องอาศัยและขึ้นต่อนโยบายแผนการส่งออก ของบรรษัทอุตสาหกรรมรถยนต์ข้ามชาติ ซึ่งบรรษัทฯ คาดหวังตลาดภายในประเทศก่อนที่จะขยายสู่ตลาดส่งออก เนื่องจากได้ผลตอบแทนต่อหน่วยดีกว่า และเป็นไปตามนโยบาย "การผลิตในที่มียอดขาย" ขณะเดียวกันประเทศกำลังพัฒนาต่างเปิดรับการลงทุนในอุตสาหกรรม และมีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ทั้งสิ้น ประสานกับความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีต่างๆ ทำให้กำลังการผลิตรถยนต์โดยรวมของโลก มีมากเกินความต้องการบริโภคและการส่งออก ของประเทศในภูมิภาคหนึ่งๆ โอกาสการส่งออกจึงขึ้นกับชิ้นส่วนฯ มากกว่ารถยนต์สำเร็จรูป โดยที่ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ความสามารถในการแข่งขันเป็นตัวกำหนดความสามารถในการส่งออก ซึ่งฐานเทคโนโลยี คุณภาพการผลิตของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนฯ โดยกิจการร่วมทุนหรือทุนต่างชาติสูงกว่ากิจการทุนในประเทศ ภาพอนาคตของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนฯ ของประเทศไทยจึงมีแนวโน้มของลักษณะอุตสาหกรรมการผลิต เพื่อทดแทนการนำเข้า ซึ่งหมายถึงผลกระทบการขาดดุลการค้าและการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เนื่องจากกระบวนการผลิตที่ต้องพึ่งพิงการนำเข้าชิ้นส่วนสำคัญ มูลค่าเพิ่มของบรรษัทฯ ผลการศึกษาที่พบต่อมา คือ ภาครัฐมีแนวนโยบายที่มุ่งเน้นครอบคลุมอุตสาหกรรมโดยรวม มุ่งใช้กลไกราคาสนับสนุนการค้าการแข่งขันเสรี ขณะที่นโยบายเฉพาะเพื่อพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนขาดประสิทธิภาพ ในการพัฒนาด้านเทคโนโลยี และประสิทธิภาพแรงงาน มีแนวนโยบายคุ้มครองอุตสาหกรรมผ่านมาตรการบังคับใช้ชิ้นส่วนฯ ในประเทศ ซึ่งจะมีผลยกเลิกในที่สุดนับแต่ปี 2541 ดังนั้นภาคธุรกิจเอกชนไทยจึงจำเป็นต้องรีบเร่งเพื่อปรับตัว ยกระดับความสามารถการแข่งขันเพื่อรับกับชิ้นส่วนฯ ที่นำเข้าจากสภาพการแข่งขันเสรี และขนาดตลาดที่เติบโตขึ้นในลักษณะการลงทุน ขยายกำลังการผลิต การพัฒนาเพื่อการรับรองมาตรฐานระบบคุณภาพ การพัฒนาของทางการร่วมทุนเพื่อโอกาสด้านตลาดและเทคโนโลยี รวมถึงการปรับตัวในเชิงโครงสร้างผ่านความร่วมมือกลุ่มอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกในอาเซียนเพื่องางข้อตกลงและมาตรการร่วมเพื่อสร้างความเป็นมาตรฐานเดียวกันของอาเซียน สำหรับการพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนโดยเฉพาะกิจการทุนภายในประเทศและการพัฒนาด้านการส่งออก การเน้นบทบาทภาครัฐผ่านกลไกราคา ผลการเปลี่ยนแปลงด้านการยกระดับความสามารถการผลิต เทคโนโลยี และความสามารถส่งออกสู่ตลาดโลกอาจเกิดขึ้นได้ล่าช้าหรือโดยยาก การปรับบทบาทเชิงรุกของภาครัฐทั้งจากการลดข้อบกพร่อง ข้อจำกัดในนโยบายอุตสาหกรรม การเพิ่มกลไกเพื่อเสริมความสามารถการแข่งขัน การพัฒนาภาคธุรกิจเอกชนแล้ว ยังรวมถึงความจำเป็นในการปฏิรูปหน่วยราชการให้มีเอกภาพในการทำงาน มีกลไกตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานเพื่อลดทอนปัญหาการขาดดุลการค้า และดุลบัญชีเดินสะพัดซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย Given the high potential of Thailand's car market, public policy and other investment promoting factors induced Transnational Companies (TNCs) to establish automobile and parts production sites in Thailand. Consequently, Thailand expects to become an exporting site of automoblies and parts too. This thesis identifies the major factors determining the capacity and future orientation of the automobile and parts industry, which may currently be characterized as an Import Substituting Industry (ISI). The analysis is motivated by the fact that effective public export policies must reflect and depend on the TNC's export policies. In general, TNC's prefer to sell in the domestic market rather than foreign markets, as sale on the former is generally associated with higher profits. TNC's domestic market orientation is further encouraged by the 'build as you sell' policy. As neighboring developing countries generally want investments in their automobile and parts industries, there has been a considerable over-investment in the region. Together with technological advancement, the over-investment has caused the industry's total production capacity to exceed the capacity required to satisfy domestic and export consumption. The prospect for increased exports of parts is greater than that for automobiles. Clearly, the export of parts depends on the domestic industry's comparative production advantage and competitiveness which reflect the quality of its technological base. Obviously, the quality of the technological base of TNCs has been higher than that of Thai firms. The future orientation of Thailand's automobile and parts industries is thus predicted to be ISI, implying current account problems because production process uses highly value-added, imported production inputs. This thesis further shows that Thailand's industrial policy is generally designed to cover all of industry, focusing on the promotion of free trade and competition through the unrestricted working of the price mechanism. Public policies on technology and productivity development are considered to be ineffective. As the scope of the current industrial policy of local content regulation will stop in 1998, Thai part industries must hurry up to improve their competitiveness in order to compete with the import of parts more effectively, thus increasing their market shares in the growing domestic parts market. To achieve this goal, Thai firms have adopted two major business strategies : the expansion of production capacity and the development of ISO 9000 quality standards, in order to be eligible to establish links/joint ventures with TNCs, encouraging market and technology development and the cooperation between firms producing parts in the ASEAN region. Public institutions should abandon their passive roles and adopt more progressive policies, aimed at improving the technological base and labor productivity in Thailand's part industry firms. To counter the current account deficit problems, a restructuring of public institutions and the implementation of accountability mechanisms are required. 2009-07-21T08:21:33Z 2009-07-21T08:21:33Z 2540 Thesis 9746371134 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9277 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 591363 bytes 2025289 bytes 1462348 bytes 1303136 bytes 1698943 bytes 1228110 bytes 2924560 bytes 1611000 bytes 1144100 bytes 1191608 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย