ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9518 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9518 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ยา -- ผลข้างเคียง ไต ผู้ป่วยจิตเวช ลิเธียม |
spellingShingle |
ยา -- ผลข้างเคียง ไต ผู้ป่วยจิตเวช ลิเธียม จุฑามณี ชาตะวราหะ ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
description |
วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
author2 |
อภิฤดี เหมะจุฑา |
author_facet |
อภิฤดี เหมะจุฑา จุฑามณี ชาตะวราหะ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
จุฑามณี ชาตะวราหะ |
author_sort |
จุฑามณี ชาตะวราหะ |
title |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
title_short |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
title_full |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
title_fullStr |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
title_full_unstemmed |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
title_sort |
ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9518 |
_version_ |
1681411161855098880 |
spelling |
th-cuir.95182009-08-03T09:07:46Z ความเป็นพิษต่อไตจากยาลิเทียมในผู้ป่วยจิตเวช Lithium nephrotoxicity in psychiatric patients จุฑามณี ชาตะวราหะ อภิฤดี เหมะจุฑา เลอสรรพ์ ลือสุทธิวิบูลย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ ยา -- ผลข้างเคียง ไต ผู้ป่วยจิตเวช ลิเธียม วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยทำการศึกษา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาความชุกและความเสี่ยงของการเกิดพิษต่อไตจากยาลิเทียมและความสัมพันธ์ของระดับยาลิเทียมต่อการเกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยจิตเวชที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก กองจิตเวชและระบบประสาทโรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2544 ผู้ป่วยจิตเวชที่ใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษาเข้าร่วมการวิจัยจำนวน 42 ราย และผู้ป่วยจิตเวชอื่น ๆ ที่ไม่ได้ใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษาจำนวน 35 ราย จากการศึกษาความชุกของการเกิดพิษต่อไตในผู้ป่วยจิตเวชที่ใช้ยาลิเทียม พบว่า ความชุกของการเกิดภาวะปัสสาวะมาก เท่ากับ 39.39, ความชุกของความสามารถของไตในการทำให้ปัสสาวะเข้มข้นลดลง เท่ากับ 85.70, ความชุกของโปรตีนในปัสสาวะมากผิดปกติ เท่ากับ 88.10 และความชุกของการเกิดโรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของไตเท่ากับ 27.27 การหาระดับความสัมพันธ์โดยการใช้ค่า odds ratio ระหว่างการใช้ยาลิเทียมกับการเกิดพิษต่อไต พบว่า ผู้ป่วยจิตเวชที่ใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษามีความเสี่ยงของการเกิดภาวะปัสสาวะมาก 2.13 เท่า (95% CI,OR = 6.40-0.70) ความสามารถของไตในการทำให้ปัสสาวะเข้มข้นลดลง 1.24 เท่า (4.25-0.36) โปรตีนในปัสสาวะมากผิดปกติ 2.19 เท่า (7.43-0.64) และ การเกิดโรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของไต 1.44 เท่า (4.69-0.44) ของผู้ป่วยจิตเวชอื่น ๆ ที่ไม่ได้ใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษา การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับยาลิเทียมกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่แสดงถึงหน้าที่การทำงานของไตพบว่า ระดับยาลิเทียมมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.031) กับค่าออสโมลาลิตี้ของปัสสาวะโดยมีค่าความสัมพันธ์ เท่ากับ -0.346 นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาในการใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.018) กับค่าซีรั่มครีอะตินิน โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ 0.362 นอกจากนี้พบว่าแนวโน้มของผลของการเกิดพิษต่อไตจากการใช้ยาลิเทียมจะเกิดขึ้นในระยะยาวที่มีการใช้ยาลิเทียมติดต่อกันมากกว่า 10 ปี และการเกิดพิษต่อไตมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการใช้ยา และระดับยาลิเทียมในเลือดที่เพิ่มขึ้น ผลจากการศึกษานี้ยังพบว่าค่าครึ่งชีวิตของยาลิเทียมที่ได้จากการคำนวณจากข้อมูลการชำระของครีอะตินินของปัสสาวะ 24 ชั่วโมง และจากผลการวิเคราะห์ระดับยาลิเทียม มีแนวโน้มของความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงกับระยะเวลาในการใช้ยาลิเทียม ดังนั้นผู้ป่วยควรได้รับการตรวจติดตามหน้าที่การทำงานของไต และระดับยาลิเทียมในเลือดอย่างสม่ำเสมอเมื่อมีการใช้ยาลิเทียมเพื่อการรักษาในระยะยาว เพื่อป้องกันการเกิดพิษต่อไตที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต. The aim of this cross-sectional descriptive research was to study prevalence rates, odds ratio of lithium induced nephrotoxicity and correlation of lithium level and nephrotoxicities in psychiatric patients at psychiatric out-patient department at Phramongkutklao Hospital from October 2000 to April 2001. Forty two psychiatric lithium users and thirty five psychiatric non-lithium users were recruited to this study. The prevalence rate of nephrotoxicities in psychiatric lithium users were polyuria 39.39, decrease urine concentrating ability 85.70, proteinuria 88.10 and nephrogenic diabetes insipidus 27.27, respectively. Strength of association between lithium-used and nephrotoxicities by odds ratio were polyuria 2.13 (95% CI, OR = 6.40-0.70), decrease urine concentrating ability 1.24 (4.25-0.36), proteinuria 2.13 (7.43-0.64) and nephrogenic diabetes insipidus 2.19 (4.69-0.44). The correlation between lithium level and nephrotoxicities showed negative statistical significant (p=0.031) in lithium level and urine osmolality at correlation coefficient of -0.346 but showed positive statistical significant (p=0.018) in duration of lithium-used and serum creatinine at correlation coefficient of 0.362. In addition, trend of lithium induced nephrotoxicity were presented in more than 10 years of lithium-used. Lithium half life which calculated from 24 hrs urine creatinine clearnance and lithium level showed linear relationship with duration of lithium-used. Lithium induced nephrotoxicities correlated with duration of lithium-used and lithium level. So, renal function and lithium level should be monitor to provent nephrotoxicity in long term lithium-users. 2009-08-03T09:07:45Z 2009-08-03T09:07:45Z 2544 Thesis 9740305296 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9518 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1313454 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |