ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปัญญา ทรวงบูรณกุล
Other Authors: กาญจนา กาญจนทวีวัฒน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9522
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.9522
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ฟันปลอม
ทันตกรรมรากเทียม
spellingShingle ฟันปลอม
ทันตกรรมรากเทียม
ปัญญา ทรวงบูรณกุล
ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 กาญจนา กาญจนทวีวัฒน์
author_facet กาญจนา กาญจนทวีวัฒน์
ปัญญา ทรวงบูรณกุล
format Theses and Dissertations
author ปัญญา ทรวงบูรณกุล
author_sort ปัญญา ทรวงบูรณกุล
title ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
title_short ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
title_full ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
title_fullStr ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
title_full_unstemmed ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
title_sort ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9522
_version_ 1681413117318266880
spelling th-cuir.95222009-08-03T09:23:07Z ความทนแรงดึงระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกภายหลังการกรอต่างระดับ Tensile bond strength of acrylic denture base to different layers of ground acrylic denture teeth ปัญญา ทรวงบูรณกุล กาญจนา กาญจนทวีวัฒน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ฟันปลอม ทันตกรรมรากเทียม วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความทนแรงดึง (TBS) ระหว่างฐานฟันปลอมอะคริลิกยึดกับซี่ฟันปลอมอะคริลิกที่กรอผิวด้านประชิดสัน เหงือกให้เรียบและซี่ฟันปลอมที่กรอด้านประชิดสันเหงือกออก โดยศึกษาจากซี่ฟันปลอม 4 ชนิด คือ 1) ซึ่ฟันปลอมพอลิเมทิลเมทาคริเลตชนิดเส้น (เมเจอร์เดนท์, Major Dent, M) 2) ซี่ฟันปลอมแบบอัด 3 ชั้นพอลิเมทิลเมทาคริเลตชนิดเส้น (เบสิก, Basic, B) 3) ซี่ฟันปลอมแบบอัด 3 ชั้นพอลิเมทิลเททาคริเลตชนิดที่มีสารเชื่อมขวางและวัสดุอัดแทรกซิลิกา (เอนดูรา, Endura, D) และ 4) ซี่ฟันปลอมแบบอัด 4 ชั้นพอลิเมอร์สหพันธ์ของเมทลเทมาคริเลต (เอสอาร์วิโวเดนพีอี, SR Vivodent PE, S) ในแต่ละชนิดแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 24 ซี่ คือ กลุ่มที่กรอผิวด้านประชิดสันเหงือก 1 มิลลิเมตรเพื่อให้เกิดความเรียบเป็นกลุ่มควบคุม (control, C) และกลุ่มที่กรอด้านประชิดสันเหงือกออก 4 มิลลิเมตรเป็นกลุ่มทดลอง (experiment, X) จากนั้นนำมายึดกับวัสดุทำฐานฟันปลอมอะคริลิกชนิดบ่มด้วยความร้อนที่อัดขึ้น รูปด้วยแบบทองเหลืองเพื่อให้พื้นที่ผิวสัมผัสระหว่างซี่ฟันปลอมกับฐานฟัน ปลอมอะคริลิกเท่ากันในทุกชิ้นทดสอบ นำชิ้นทดสอบไปแช่ในน้ำกลั่นที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 7 วัน จากนั้นนำไปทดสอบค่าความทนแรงดึงด้วยเครื่องทดสอบสากล (Instron, model 5583) ที่มีอัตราเร็วของหัวดึงเท่ากับ 0.254 มิลลิเมตรต่อนาที ได้ค่าเฉลี่ยของ TBS (X+-SD, MPa) ดังนี้คือ กลุ่ม MC 16.35+-3.84 กลุ่ม MX 16.31+-3.19 กลุ่ม BC 23.00+-3.55 กลุ่ม BX 22.88+-3.97 กลุ่ม EC 25.92+-5.44 กลุ่ม EX 24.34+-6.06 กลุ่ม SC 27.89+-4.15 และกลุ่ม SX 25.34+-4.87 จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ TBS ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองในซี่ฟันปลอมชนิดเดียวกันโดยใช้สถิติการวิ เคราะห์ทีเทสต์ ส่วนการหาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของ TBS ของซี่ฟันปลอมต่างชนิดกัน ภายในกลุ่มเดียวกันนั้น ใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบแบบทูกีย์ ได้ผลดังนี้คือ ซี่ฟันปลอม M, B, E และ S ค่า TBS ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนการเปรียบเทียบภายในกลุ่มเดียวกัน (กลุ่มควบคุมหรือกลุ่มทดลอง) พบว่าซี่ฟันปลอม M มีค่า TBS ต่ำกว่าซี่ฟันปลอมอื่นทั้งในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p is less than or equal to 0.05) จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่าการกรอพื้นผิวด้านประชิดสันเหงือกของซี่ฟัน ปลอมออกไม่ทำให้การยึดแน่นกับวัสดุทำฐานฟันปลอมเปลี่ยนไป The purpose of this study was to evaluate the tensile bond strength between heat activated acrylic denture base and denture teeth with flattened ridge lap or without ridge lap. Four types of acrylic teeth used in this study were 1) linear polymethyl methacrylate (Major Dent, M), 2) three layers of linear polymethyl methacrylate (Basic, B), 3) three layers of cross-linked polymethy methacrylate with silica filler (Endura, E) and 4) four layers of copolymer between methyl methacrylate and dimethacrylate (SR Vivodent PE, S). The teeth of each type were divided into 2 groups (N = 24 each). The ridge lap portion of denture teeth in the control groups (C) were flattened by grinding (1 mm. depth), while those of the experimental groups (X) were removed. The teeth were bonded to acrylic denture base using a brass mold. The brass was used to control the surface contact area between the teeth and the acrylic. The models were than immersed in distilled water at 37 ํC for 7 days. The tensile bond strength between the teeth and acrylic denture base was tested using a universal testing machine (Instron, model 5583) having a cross head speed of 0.254 mm/min. The average tensile bond strengths of the control and experimental groups of each type were as follows (X+-SD, MPa): MC 16.35+-3.84, MX 16.31+-3.19, BC 23.00+-3.55, BX 22.88+-3.97, EC 25.92+-5.44, EX 24.34+-6.06 and SC 27.87+-4.15, SX 25.34+-4.87. Student's t-test was used in each type whereas ANOVA and Tukey's tests were used among the tested group. The results showed no significant difference between tensile bond strength of the control groups and the experimental groups in all type of tooth. It was also demonstrated that M acrylic teeth had significantly lower bond strength in comparison with other types within control or experimental groups. We concluded that the reduction of the ridge lap portion does not affect bond strength. 2009-08-03T09:23:07Z 2009-08-03T09:23:07Z 2544 Thesis 9740309623 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9522 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1612352 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย