การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9597 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9597 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ผู้นำ ตำรวจตระเวนชายแดน ผู้นำชุมชน การมีส่วนร่วมทางสังคม เสนางคนิคม (อุบลราชธานี) ความมั่นคงแห่งชาติ |
spellingShingle |
ผู้นำ ตำรวจตระเวนชายแดน ผู้นำชุมชน การมีส่วนร่วมทางสังคม เสนางคนิคม (อุบลราชธานี) ความมั่นคงแห่งชาติ มนูเนตร โกมลทัต การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 |
author2 |
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท |
author_facet |
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท มนูเนตร โกมลทัต |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มนูเนตร โกมลทัต |
author_sort |
มนูเนตร โกมลทัต |
title |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
title_short |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
title_full |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
title_fullStr |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
title_full_unstemmed |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
title_sort |
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9597 |
_version_ |
1681413741100400640 |
spelling |
th-cuir.95972009-08-04T07:01:17Z การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวนชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นแนวแทรกซึม ของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี A comparative study of the attributes of the "Natural Opinion Leaders" as identified sociometrically by border patrol police and those of the "Followers" in communist-infested villages in Sanangkanikhom Sub-district, Ubon Ratchathani province มนูเนตร โกมลทัต อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ผู้นำ ตำรวจตระเวนชายแดน ผู้นำชุมชน การมีส่วนร่วมทางสังคม เสนางคนิคม (อุบลราชธานี) ความมั่นคงแห่งชาติ วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 ปัญหาด้านการขาดความมั่นคงทางการเมืองเป็นปัญหาที่เรื้อรังมานาน และในปัจจุบันนี้คนไทยก็กำลังประสบกับปัญหาดังกล่าว แม้ในอดีตก็มีเรื่องเช่นนี้เกิดขึ้นเสมอ ตำรวจตระเวณชายแดน มีหน้าที่ ความรับผิดชอบ และมีบทบาทโดยตรงต่อการลดอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ภายในประเทศการสร้างราษฎรกลุ่มต่อต้านฝ่ายตรงข้ามในพื้นที่เขตแทรกซึม เป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินงานทาง ด้านการเมือง ที่จะขจัดหรือลบล้างอิทธิพลภายในหมู่บ้านของฝ่ายตรงข้ามให้หมดสิ้นไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพร่ขยายตัวซึ่งได้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของคอมพิวนิสต์เป็นส่วนใหญ่ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติของ "ผู้นำโดยธรรมชาติ" จากการสรรหาของตำรวจตระเวณชายแดนกับประชาชนในหมู่บ้านที่เป็นเขตแทรกซึมของคอมมิวนิสต์ กิ่งอำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 46 หมู่บ้าน และคุณสมบัติของ "ผู้ตามความคิด" เพื่อทราบความแตกต่างของคุณสมบัติในด้าน ความเชื่อมั่นในตัวเอง การเข้าถึงสื่อมวลชน ความมีลักษณะสากล หรือลักษณะระหว่างท้องถิ่น (Cosmopolite) สถานภาพทางสังคม การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และทัศนคติที่มีต่อเจ้าหน้าที่และทัศนคติแบบประชาธิปไตย โดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งทำการสุ่มจากผู้นำโดยธรรมชาติ จำนวน 50 ตัวอย่าง และจากผู้ตามความคิด จำนวน 200 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้นำโดยธรรมชาติ มีความเชื่อมั่นในตัวเองมากกว่าผู้ตามความคิด 2. ผู้นำโดยธรรมชาติ เข้าถึงสื่อมวลชนมากกว่าผู้ตามความคิด 3. ผู้นำโดยธรรมชาติ มีลักษณะสากล หรือลักษณะระหว่างท้องถิ่นมากกว่าผู้ตามความคิด 4. ผู้นำโดยธรรมชาติ เข้ามามีส่วนร่วมในสังคมมากกว่าผู้ตามความคิด และผู้นำโดยธรรมชาติ มีทัศนคติที่ดีต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริมมากกว่า ผู้ตามความคิด 6. ผู้นำโดยธรรมชาติมีสถานภาพทางสังคมแตกต่างไปจากผู้ตามความคิด 7. ผู้นำโดยธรรมชาติ มีทัศนคติแบบประชาธิปไตยมากกว่าผู้ตามความคิด แสดงว่าการคัดเลือก "ผู้นำโดยธรรมชาติ" ของตำรวจตระเวณชายแดน โดยวิธี Sociometric Method จากจำนวน 46 หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น 460 คน เข้ามารับการอบรมทางการเมือง เป็นเวลา 5 วัน ตามโครงการสร้างความมั่นคงในชนบทที่หมู่บ้านนั้น กระบวนการของตำรวจตระเวนชายแดน สามารถคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติดังกล่าวได้แตกต่างไปจากชาวบ้านธรรมดา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการเปรียบเทียบคุณสมบัติของ ผู้นำโดยธรรมชาติและผู้ตามความคิด ในพื้นที่ดังกล่าวแล้ว ยังอาจนำมาพิจารณาเป็นแนวทางประกอบการวางแผนการต่อต้านอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ในพื้นที่อื่น ๆ ด้วย ทั้งในหน่วยงานของตำรวจตระเวณชายแดนเอง และหน่วยงานอื่น ๆ Internal political instability and insurgency is a protracted problem which poses a menace to Thailand's national security. border patrol Police are directly responsible for containing and reducing the influence of communist insurgents inside the country. Mass organization and mobilization of rural villagers to fight against the enemies in their strongholds is an essential part of political operations to root out their influence in the villages, particularly in those where they have strongest influence. The purpose of this study was to compare the attributes of the natural opinion leaders, socionetrically selected by the border patrol police units, with those of their followers in forty-six communist-infested villages in Senangkanikom sub-district, Ubonrajthani province. The aforementioned attributes selected for this study were : self-confidence, access to mass media, cosmopoliteness, social status, change agent contacts, attitude towards government officials, and attitude towards democracy. Fifty natural leaders and two hundred followers were randomly selected for the interviews conducted by the researcher. The results of the study were as follows: 1. Natural leaders had more self-confidence than their followers. 2. Natural leaders gained access to mass media more than their followers. 3. Natural leaders were more cosmopolite than their followers. 4. Natural leaders had more social participations then their followers. 5. Natural leaders had more change agent contacts than their followers. Besides, natural leaders adopted a more favorable attitude towards change agents than their followers. 6. Natural leaders had different social status from their followers. 7. Natural leaders possessed a more favorable attitude towards democracy than their followers. It is evident from the results of the study that the selection of these natural leaders by means of sociametric method is a very reliable technique. In practice, ten leaders were selected by the border patrol police units from each of the forty-sir villages. After the selection, all the leaders were given political short-course training for a perial of five days. The findings of this study may have some inplications for the selection of the most active and effective elements in the villages to fight against communist insurgents. The natural leaders selection procedure designed by the border patrol police should prove useful to other relevant civilian or military units as well. 2009-08-04T07:01:16Z 2009-08-04T07:01:16Z 2525 Thesis 9745609471 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9597 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12396082 bytes application/pdf application/pdf อุบลราชธานี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |