การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9637 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9637 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.96372009-08-05T03:57:34Z การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย Business for credit information : suitable law for Thailand มณีรัตน์ กำจรกิจการ ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ ชมพูนุช สุมนะเศรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 ข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ บริษัทข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 ข้อมูลเครดิตเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญต่อระบบการใช้เครดิตแทนเงินสด ในระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก และหากข้อมูลเครดิตไม่มีความถูกต้อง ไม่มีความทันสมัย อาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณาการให้เครดิตแก่ผู้ขอรับเครดิต และวินัยการใช้เครดิต ซึ่งหากมีการให้เครดิตหรือการใช้เครดิตที่ไม่เหมาะสม จะทำให้เกิดผลกระทบต่อภาพรวมในระบบเศรษฐกิจได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดข้อมูลเครดิตที่มีความถูกต้องทันสมัย และต้องให้ความคุ้มครองในความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูลไปพร้อมกันด้วย จึงทำให้เกิดแนวความคิดในการจัดให้มีหน่วยงาน ที่มีบทบาทในการดำเนินการจัดการบริหาร และเก็บรวบรวมข้อมูลเครดิตขึ้นมาในประเทศไทย ดังนั้นจึงได้ดำเนินการตราพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 ขึ้นมาเพื่อเป็นการรองรับหน่วยงานดังกล่าวให้มีอำนาจและหน้าที่ ในการนำเอาข้อมูลเครดิตซึ่งเป็นข้อมูลของบุคคลต่างๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องในระบบเครดิตมาบริหารจัดการ เพื่อก่อให้เกิดผลดีต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวม อาทิเช่น การลดปัญหาหนี้เสีย เป็นต้น จากการศึกษาพบว่ามีปัญหาในการบังคับใช้ พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 ทั้งในปัญหาทางกฎหมาย อาทิ ปัญหาความรับผิดของผู้บริหารสถาบันการเงิน ซึ่งอยู่ในฐานะสมาชิกของบริษัทข้อมูลเครดิต ผู้บริหารบริษัทข้อมูลเครดิตและผู้บริหารนิติบุคคลผู้ใช้ข้อมูล ปัญหาขอบเขตการให้ความยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลเครดิต ปัญหากรรมสิทธิ์ในข้อมูลเครดิต ปัญหาความเคร่งครัดในหลักการให้ความคุ้มครองแก่เจ้าของข้อมูล นอกจากนั้นยังมีปัญหาในเชิงการบริหารจัดการของบริษัทข้อมูลเครดิต เช่น ปัญหาที่เกิดจากความเคร่งครัดในการควบคุมภายใต้พระราชบัญญัตินี้ ปัญหาในด้านภาระค่าใช้จ่ายของธุรกิจข้อมูลเครดิต อันเกิดมาจากบทบัญญัติที่มีความรัดกุมเกิดความจำเป็น ทั้งนี้ผู้เขียนได้สรุปผลการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ข้างต้นที่เกิดขึ้นกับดำเนินการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต ภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 โดยได้วิเคราะห์พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางที่ควรจะเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วย Credit Information, itself, plays an important role in the credit system, which is used as an alternative for money in the financial system and the economy. If the credit information does not accurate complete and up to date, it will effect the decision's makers and bring about a massive difficulty. Furthermore, the wrong decisions may cause an economic problem and bring about a financial crisis. Therefore, the need for the right credit information (accurate, complete, and up to date) and the right to privacy of personal data have been raised in order to prevent the rising of non-performing loans (NPLs). As a result, the Thai Government was established the 'Credit Bureau' with the aims of collection data (clearing house of credit information) and protection both credit granters and credit customers from undesirable credits. In 2002, Credit Information Business Act B.E. 2545 was enacted in order to support the functional of Credit Bureau. From this study, the enforcement of Credit Information Business Act B.E. 2545 is found to have problems in many aspects. For example, the defining of the law, the organization management, and the increasing of expend for the financial institutions. Consequently, in this thesis, the author summarizes the problems that are mentioned above, and offers some concluding remarks and recommendation for a further study. 2009-08-05T03:56:05Z 2009-08-05T03:56:05Z 2546 Thesis 9741750056 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9637 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1302261 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 ข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ บริษัทข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ |
spellingShingle |
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต พ.ศ. 2545 ข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ บริษัทข้อมูลเครดิต -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ มณีรัตน์ กำจรกิจการ การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
author2 |
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ |
author_facet |
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ มณีรัตน์ กำจรกิจการ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มณีรัตน์ กำจรกิจการ |
author_sort |
มณีรัตน์ กำจรกิจการ |
title |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
title_short |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
title_full |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
title_fullStr |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
title_full_unstemmed |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
title_sort |
การประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต : รูปแบบกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9637 |
_version_ |
1681412523228659712 |