การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี

วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปรมินท์ จารุวร
Other Authors: สุกัญญา ภัทราชัย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9646
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.9646
record_format dspace
spelling th-cuir.96462009-08-05T05:24:57Z การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี The transmission and tradition of The Malai Chant at Ban Nong Khao, Changwat Kanchanaburi ปรมินท์ จารุวร สุกัญญา ภัทราชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การสวดมนต์ บ้านหนองขาว (กาญจนบุรี) -- ความเป็นอยู่และประเพณี พระมาลัย วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทสวดและทำนองสวด ตลอดจนวิเคราะห์ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อการสืบทอดประเพณีสวดพระมาลัย ผลการศึกษาสรุปว่า การสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาวสวดโดยฆราวาส ผู้สวดเป็นชายวัย 40 ปีขึ้นไป มีคณะสวด 3 สำรับ ใช้บทสวดจากคัมภีร์สวดพระมาลัยฉบับ ส.ธรรมภักดีเป็นหลัก ปัจจุบันมีทำนองสวดทั้งสิ้น 22 ทำนอง จำแนกได้เป็น ทำนองสวดพระธรรม 2 ทำนอง ทำนองเก่า 5 ทำนอง และทำนองลำนอก 15 ทำนอง ผู้วิจัยพบว่า ปัจจัยทางสังคมของบ้านหนองขาวมีผลต่อการสืบทอดประเพณีสวดพระมาลัย ประการแรก ความเป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานทำให้ชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและตนเองจึงเกิดการสืบทอดประเพณีของชุมชน ประการที่สอง การมีลักษณะสังคมแบบพึ่งพากันทางด้านแรงงานทำให้เกิดความผูกพันและรักพวกพ้อง ประการที่สาม การมีระบบเครือญาติที่ผูกพันกันด้วยความเชื่อในผีบรรพบุรุษ ผีประจำหมู่บ้านและประเพณีแต่งงานทำให้มีคนมาร่วมในพิธีศพเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้มีการสืบทอดประเพณีสวดพระมาลัย ประการที่สี่ การนับถือพุทธศาสนาแบบชาวบ้านที่เชื่อในเรื่องกรรมและการเวียนว่ายตายเกิดผลักดันให้เกิดประเพณีสวดพระมาลัยเพราะชาวบ้านเชื่อว่าการสวดพระมาลัยจะทำให้ผู้ตายได้ไปสวรรค์ นอกจากนี้ การมีระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเองซึ่งเกิดจากการตั้งชุมชนอยู่ในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ยังเป็นปัจจัยที่เอื้อให้มีการสืบทอดประเพณีของชุมชนอีกด้วย ปัจจัยทั้งหมดดังกล่าวข้างต้นส่งผลให้ประเพณีสวดพระมาลัย ยังคงสืบทอดอยู่ที่บ้านหนองขาวนี้ได้ This thesis aims at studying the Malai funerary chanting tradition at Ban Nong Khao, Tha Muang district, Kanchanaburi province in order to study the chants and melodies and also to analyze the social factors that influence the transmission of the Malai chanting tradition. The study reveals that the Malai chanting in Ban Nong Khao uses So Dhammaphakdee version as the main chanting text. It is found that the Malai chanters are men over 40 years old and there are 3 main groups of Phra Malai chanters in Ban Nong Khao. At present, 22 melodies of chants are preserved : 2 Phra Dhamma melodies, 5 ancient melodies and 15 Lam Nok melodies. Certain social factors enable the tranmission of the Malai chanting tradition. First, Ban Nong Khao is the community that has a long history enhancing the villagers to be proud of their own community and of themselves as well. Hence, the village traditions have been transmitted. Second, the practice of the exchange of labor and mutual help among villagers strengthens the bound between villagers. Third, the kinship and marriage system together with the belief in the same ancestral spirits also create the sense of belonging to the same kin groups resulting the social obligation to attend the funeral thus helps prolonging the Malai chanting tradition. Fourth, the popular Buddhist belief in kharma and reincarnation also justifies the Malai chanting tradition since people believe that the Malai chanting helps the spirits to go to heaven. And last, the village self-sufficient economy increases the village self-reliance thus indirectly helps preserve the tradition. All of the above mentioned social factors help transmit the Malai chanting tradition in Ban Nong Khao. 2009-08-05T05:24:56Z 2009-08-05T05:24:56Z 2542 Thesis 9743330348 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9646 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 779408 bytes 759679 bytes 1635681 bytes 1403894 bytes 1759290 bytes 861809 bytes 735669 bytes 755195 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ไทย กาญจนบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การสวดมนต์
บ้านหนองขาว (กาญจนบุรี) -- ความเป็นอยู่และประเพณี
พระมาลัย
spellingShingle การสวดมนต์
บ้านหนองขาว (กาญจนบุรี) -- ความเป็นอยู่และประเพณี
พระมาลัย
ปรมินท์ จารุวร
การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
author2 สุกัญญา ภัทราชัย
author_facet สุกัญญา ภัทราชัย
ปรมินท์ จารุวร
format Theses and Dissertations
author ปรมินท์ จารุวร
author_sort ปรมินท์ จารุวร
title การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
title_short การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
title_full การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
title_fullStr การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
title_full_unstemmed การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
title_sort การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9646
_version_ 1681410737247879168