การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท
วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9802 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9802 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
คุณภาพชีวิต ชาวชนบท -- ไทย สถิติวิเคราะห์ |
spellingShingle |
คุณภาพชีวิต ชาวชนบท -- ไทย สถิติวิเคราะห์ กมลกิจ ประศาสน์วุฒิ การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
description |
วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
author2 |
สุพล ดุรงค์วัฒนา |
author_facet |
สุพล ดุรงค์วัฒนา กมลกิจ ประศาสน์วุฒิ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กมลกิจ ประศาสน์วุฒิ |
author_sort |
กมลกิจ ประศาสน์วุฒิ |
title |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
title_short |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
title_full |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
title_sort |
การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9802 |
_version_ |
1681411461713231872 |
spelling |
th-cuir.98022009-08-07T06:38:55Z การวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อสร้างตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต ของคนไทยในชนบท Statistical analysis to develop indicators for quality of life of rural people in Thailand กมลกิจ ประศาสน์วุฒิ สุพล ดุรงค์วัฒนา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คุณภาพชีวิต ชาวชนบท -- ไทย สถิติวิเคราะห์ วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 พัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบทโดยวิเคราะห์ข้อมูลระยะเวลา 8 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2542 จากผลการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต ได้พิจารณาตัวบ่งชี้ 3 ด้าน 41 ตัวชี้วัด มาวิเคราะห์โดยวิธีวิเคราะห์ปัจจัย และสกัดปัจจัยด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก หมุนแกนแบบมุมฉากวิธีแวริแมกซ์ และคัดเลือกตัวชี้วัดคุณภาพชีวิต โดยตรวจสอบความสอดคล้องกันของตัวชี้วัดในตัวบ่งชี้แต่ละด้าน จากผลการวิเคราะห์ได้ข้อสรุปว่า ตัวบ่งชี้คุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบทประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ แบ่งออกเป็น 14 ตัวบ่งชี้ จำนวน 30 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. องค์ประกอบด้านปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงชีวิต ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 5 ด้านคือ ความเพียงพอของอาหาร ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด คือ เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 3,000 กรัมขึ้นไป เด็ก 0-5 ปีไม่ขาดสารอาหาร เด็ก 6-14 ปีได้รับสารอาหารครบ ความสะอาดของอาหาร ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนไม่กินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่ดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ ครัวเรือนมีน้ำสะอาดดื่มเพียงพอ บ้านเรือนถูกสุขลักษณะ ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนมีและใช้ส้วมถูกหลักสุขาภิบาล การบริโภคเกลือไอโอดีน ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนมีการบริโภคเกลือไอโอดีน ภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือนแรก 2. องค์ประกอบด้านจิตใจและอารมณ์ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 3 ด้าน คือ จริยธรรม ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนปฏิบัติศาสนกิจสม่ำเสมอ คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา ครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี ความสุขในครอบครัวและสิ่งเสพติด ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ คนในครัวเรือนไม่ติดบุหรี่ ครอบครัวมีความอบอุ่น ความกตัญญู ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือคนสูงอายุได้รับการดูแล 3. องค์ประกอบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 6 ด้าน คือ สาธารณสุขและการศึกษาเบื้องต้น ประกอบด้วย 4 ตัวชี้วัด คือ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทำคลอดและดูแลหลังคลอด เด็กประถมศึกษาได้เข้าเรียนภาคบังคับ คนในครัวเรือนอายุ 14-50 ปี อ่านเขียนได้ เศรษฐกิจและการศึกษาต่อ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด คือ เด็กจบภาคบังคับได้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา เด็กไม่ได้เรียนต่อได้รับการฝึกอาชีพ ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 20,000 บาทต่อปี การอนุรักษ์ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนร่วมรักษาสาธารณสมบัติ และกิจกรรมการพัฒนา ครัวเรือนได้ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ครัวเรือนได้ร่วมป้องกันสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนปลอดภัยจากอุบัติเหตุ, ครัวเรือนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การวางแผนครอบครัว ประกอบด้วย 1 ตัวชี้วัด คือ คู่สมรสใช้บริการคุมกำเนิด ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด คือ ครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ , ครัวเรือนรู้จักป้องกันโรคเอดส์ , ครัวเรือนกินอาหารที่มีฉลาก อย. To develop the quality of life indicators for rural people in Thailand using the eight years data 1992 to 1999 from Rural Development Data Center, Division of Rural Development, Ministry of Interior Affair. Firstly, the qualitative method is applied to conceptualize the quality of life for this group of this people. As the result of this concept mapping, the data are seperated to 3 components of 41 variables. Then the factor analysis is utilized using principal component method of extraction. The diagonal rotation with varimax method is used in order that the concept could be effectively extracted. It is found that, from the 3 extracted components, the quality of life indicators for rural people in Thailand consists of 14 indicators and 30 sub-indicators as follows : 1. Basic needs component consists of 5 indicators as follows : sufficiency of food indicator contains 3 sub-indicators ; Infant weight more than 3,000 grams, 0-5 year-old children without lack of nutrition, 6-14 year-old children with sufficient nutrition. Cleanness of food indicator contains 2 sub-indicators ; household with welled-cooked food, household with water hygiene. Hygienic of house indicator contains 1 sub-indicator ; household with lavatory hygiene. Iodine intake indicator contains 1 sub-indicator ; household with Iodine intake Child's immunity indicator contains 1 sub-indicator ; infant baby with mother's milk feed. 2. Spirits component consists of 3 indicators as follows : Morality indicator contains 3 sub-indicators ; household with monastery participating, non-alcoholic household, household cultural rites' attendance. Family and addiction indicator contains 2 sub-indicators ; non-smoking addiction household, warm-welcomed family. Gratitude indicator contains 1 sub-indicator ; elder aged people well-care. 3. Social and environment component consists of 6 indicators as follows :- Public health and fundamental education indicator contains 4 sub-indicators ; pregnant woman well-care, pregnant woman birth/after gave-birth well-care, elementary education for children. Economic and continuous education indicator contains 3 sub-indicators ; literate of 14-50 aged members of household, availability of further secondary education for children, household income greater than 20,000 baht per annum. Protection indicator contains 3 sub-indicators ; collaboration of social activities, houshold preservation for natural resources, household with protection for environment. Safety indicator contains 2 sub-indicators ; household with safety-life and assets. Family planning indicator contains 1 sub-indicator ; spouse with birth-control. Useful news indicator contains 3 sub-indicators ; household with AIDS education, household with AIDS prevention, FDA food for household 2009-08-07T06:38:54Z 2009-08-07T06:38:54Z 2543 Thesis 9740300804 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9802 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1517126 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |