รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/988 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.988 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ การสื่อสารกับวัฒนธรรม |
spellingShingle |
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ การสื่อสารกับวัฒนธรรม วรวรรณ เชาวนศิริกิจ, 2518- รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 |
author2 |
กิตติ กันภัย |
author_facet |
กิตติ กันภัย วรวรรณ เชาวนศิริกิจ, 2518- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วรวรรณ เชาวนศิริกิจ, 2518- |
author_sort |
วรวรรณ เชาวนศิริกิจ, 2518- |
title |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
title_short |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
title_full |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
title_fullStr |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
title_full_unstemmed |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
title_sort |
รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/988 |
_version_ |
1681413574899007488 |
spelling |
th-cuir.9882007-12-04T03:48:12Z รหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธุ์ทิพย์ดอทคอม Cultural codes in www.Pantip.com internet community วรวรรณ เชาวนศิริกิจ, 2518- กิตติ กันภัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ การสื่อสารกับวัฒนธรรม วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ให้ทราบถึงสัญญะที่ปรากฎอยู่ในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอม เพื่อศึกษารหัสทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่ปรากฎอยู่ในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์ เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอม และ เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของรหัสทางวัฒนธรรมของกลุ่มต่างๆ ในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอม โดยผู้วิจัยได้ใช้วิธีวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาแนววัฒนธรรมศึกษา (Cultural Approach) และใช้แนวคิดเรื่องการสื่อสารผ่านสื่อกลางคอมพิวเตอร์ แนวคิดเกี่ยวกับสังคมวิทยาและชุมชน แนวคิดเรื่อง ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ แนวคิดสัญญะวิทยา เพื่อเป็นกรอบในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า สัญญะที่ปรากฏในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอม แบ่งได้ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ สัญรูป (Icon) เป็นสัญญะที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายหรือเหมือนกับวัตถุที่มีจริงอย่างมากที่สุด เช่น ภาพถ่าย รูปวาด, ดัชนี (Index) เป็นสัญญะที่มีความเกี่ยวพันโดยตรงกับวัตถุที่มีอยู่จริง การถอดรหัส index นั้นจะใช้การคิดหาเหตุผลเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์เชิงเหตุ-ผล ระหว่าง index กับ object ได้แก่ การตกแต่งภาพเพื่อสร้างความหมาย และ สัญลักษณ์ (Symbol) ผู้สนทนาจะใช้สัญลักษณ์ในการทดแทนภาษากาย เพื่อบอกถึงอารมณ์ ความรู้สึกของตนให้คู่สนทนาเข้าใจ และใช้สัญลักษณ์เพื่อบอกการกระทำของตน ให้คู่สนทนาทราบว่า ตนต้องการแสดงการกระทำใดให้คู่สนทนาทราบ ในส่วนของรหัสทางวัฒนธรรมในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอมนั้น พบว่ารหัสทางวัฒนธรรมของกลุ่มต่างๆ ในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอมที่มีลักษณะ แตกต่างกัน ในแต่ละกลุ่ม ซึ่งถือเป็นรหัสทางวัฒนธรรมเฉพาะของแต่ละกลุ่ม ความต่างกันของรหัสทางวัฒนธรรมนั้น ทำให้การถอดรหัส มีความหมายที่แตกต่างกัน อันเนื่องจากในแต่ละกลุ่มมีความสนใจเฉพาะด้านที่ต่างกัน ทำให้สะท้อนอัตลักษณ์ของแต่ละกลุ่มออกมาต่างกัน อาทิ รหัสทางวัฒนธรรมการท่องเที่ยวแบบแบกเป้ใบเดียวของโต๊ะ BluePlanet รหัสทางวัฒนธรรมการนัดพบปะเพื่อโชว์รถยนต์ ของโต๊ะรัชดา เป็นต้น หากแต่ในชุมชนนี้ นอกจากจะมีวัฒนธรรมเฉพาะแล้ว ยังมีการใช้รหัสทางวัฒนธรรมร่วม ซึ่งรหัสทางวัฒนธรรมของกลุ่มต่างๆ ในชุมชนอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวท์เว็บดอทพันธ์ทิพย์ดอทคอมที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือเป็นวัฒนธรรมร่วมของทุกกลุ่มในชุมชนนั้น สมาชิกในชุมชนทุกกลุ่ม ต่างสามารถถอดรหัสออกมาได้ความหมายเดียวกัน เป็นความหมายร่วมของชุมชน ได้แก่ รหัสทางวัฒนธรรมการใช้ภาษาเป็นหลักในการติดต่อสื่อสาร รหัสทางวัฒนธรรมด้านมารยาททางสังคม รหัสทางวัฒนธรรมด้านการผูกพันกับถิ่นที่อยู่อาศัย The objective of this research is about to analyze the common sign and to learn about the various cultural codes which are basically used in www.pantip.com's communities. The researcher will also study together with to understand the patterns of the common and the different cultural code in each community. In this research 'the Qualitative Research' has been applied as the standard method to analyze the 'Cultural Approach' and this analysis has been by framed and controlled by the concept of 'Computer-Mediated Communication', 'Social Sciences and Community', 'Symbolic Interactionism' and 'Semiology'. The consequence of this study is in each community of www.pantip.com there are three different signs that are, firstly, 'Icon' which is pattern of sign that exactly look as same as the object such as photography. Secondly is 'Index' this sign will be decoding by logic such as the retouch photography to make other meaning Lastly, the 'Symbol' which is the symbolic for expressing emotion and acting. From this research, the study reflects that each community in www.pantip.com has their own Cultural Code. Each is unique and can be understood only by the member of the community. Each community is gathered by members who have the same interest, so the result is that the interpretative of the Cultural Code will result in different meaning as the decode will also depend on the interest of the members such as the cultural code of the 'BluePlanet' community which is the community of people who are interested in ‘backpacker' activity will be different from the cultural code of the 'Ratchada' community which their interest is about the automotive. But the researcher can also notice that even each community has their own cultural code, there still be the shared meaning for all communities which are the cultural code of the communicated language, social manner. 2006-07-22T08:11:12Z 2006-07-22T08:11:12Z 2545 Thesis 9741716184 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/988 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6491404 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |