ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุภาวดี จันทร์เพ็ญ
Other Authors: ชัยพร วิชชาวุธ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9886
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.9886
record_format dspace
spelling th-cuir.98862009-08-10T09:26:37Z ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Relationships of explanatory style, selection priority, intention to retake university entrance examination, and academic performance of Chulalongkorn University Education freshmen สุภาวดี จันทร์เพ็ญ ชัยพร วิชชาวุธ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา -- การสอบคัดเลือก การช่วยตนเองไม่ได้ (จิตวิทยา) การอธิบาย วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบายสาเหตุของเหตุการณ์เลวร้ายในการเรียน ลำดับในการเลือก และความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งกับผลการเรียนของนิสิตขึ้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามรูปแบบการอธิบายสาเหตุของเหตุการณ์เลวร้ายในการเรียน และแบบสอบถามลำดับในการเลือก และความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการอธิบายมองโลกแง่ร้ายมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบกับเกรดเฉลี่ยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. ความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบกับเกรดเฉลี่ยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. รูปแบบการอธิบายมองโลกแง่ร้ายมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวกกับความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. รูปแบบอธิบายมีผลต่อผลการเรียนมากกว่าความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง 5. ลำดับในการเลือกมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวกกับความตั้งใจที่สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 The purpose of this research was to study the relationships of explanatory style, selection priorty, intention to retake university entrance examination, and academic performance of Chulalongkorn University Education freshmen. The sample included 100 students. The instruments used in this research were the Academic Attributional Style Questionnaire and the Selection Priority and Intention to Retake University Entrance Examination Questionnaire. Findings are as follows: 1. The negative explanatory style has a significant negative linear correlation with GPA (p<.001). 2. The intention to retake university entrance examination has a significant negative linear correlation with GPA (p<.01). 3. The negative explanatory style has a significant positive linear correlation with intention to retake university entrance examination (p<.01). 4. The explanatory style is more effective than intention to retake university entrance examination in predicting GPA. 5. The selection priority has a significant positive linear correlation with intention to retake university entrance examination (p<.001). 2009-08-10T09:26:37Z 2009-08-10T09:26:37Z 2541 Thesis 9743320679 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9886 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1058683 bytes 2068315 bytes 936356 bytes 901753 bytes 959679 bytes 803594 bytes 1227650 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สถาบันอุดมศึกษา -- การสอบคัดเลือก
การช่วยตนเองไม่ได้ (จิตวิทยา)
การอธิบาย
spellingShingle สถาบันอุดมศึกษา -- การสอบคัดเลือก
การช่วยตนเองไม่ได้ (จิตวิทยา)
การอธิบาย
สุภาวดี จันทร์เพ็ญ
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
author2 ชัยพร วิชชาวุธ
author_facet ชัยพร วิชชาวุธ
สุภาวดี จันทร์เพ็ญ
format Theses and Dissertations
author สุภาวดี จันทร์เพ็ญ
author_sort สุภาวดี จันทร์เพ็ญ
title ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการอธิบาย ลำดับในการเลือกและความตั้งใจที่จะสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยอีกครั้งหนึ่ง กับผลการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2009
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9886
_version_ 1681410231022649344