การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9980 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9980 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.99802009-08-13T00:52:51Z การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb Seed storage and pretreatments of Calamus latifolius Roxb ชโลทร เลิศอนันต์สกุล กระบวน วัฒนะปรีชานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย หวาย หวายโป่ง เมล็ดพันธุ์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 ผลสดหวายโป่ง 1,000 ผล มีน้ำหนัก 1,903 กรัม และ 1,000 เมล็ด ของหวายโป่งมีน้ำหนักประมาณ 30 กรัม นำผลหวายที่เก็บมาใหม่ซึ่งมีความชื้น 68.5 เปอร์เซ็นต์ ผึ่งในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกเป็นเวลา 14 วัน พบว่าความชื้นในผลลดลงเหลือ 40.9 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเมล็ดหวายโป่งที่เก็บมาใหม่มีปริมาณความชื้น 25.4 เปอร์เซ็นต์ หลังจากผึ่งในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกเป็นเวลา 14 วัน และเก็บรักษาในภาชนะเปิดที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 6 เดือน มีความชื้นลดลงเหลือ 18.25 และ 15.50 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ วัสดุที่เหมาะสมสำหรับเพาะเมล็ดหวายโป่ง คือ ทราย และขี้เถ้าแกลบ ให้เปอร์เซ็นต์การงอก 24 และ 23 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อผลหวายโป่งก่อนเพาะ โดยแยกส่วนเปลือกและเนื้อผลออกให้เปอร์เซ็นต์การงอก 27 เปอร์เซ็นต์ การปฏิบัติก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่งพบว่า การแช่เมล็ดในน้ำร้อนแล้วปล่อยให้เย็นเป็นเวลา 36 และ 48 ชั่วโมง ทำให้เมล็ดมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงสุด คือ 52 และ 53 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การเก็บรักษาเมล็ดหวายโป่ง พบว่า ภาชนะและอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดหวายโป่งคือ ถุงพลาสติกปิดสนิทที่อุณหภูมิ 10 ํC จะสามารถรักษาความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่งได้เป็นระยะเวลา 7 เดือน โดยมีเปอร์เซ็นต์การงอก 44 เปอร์เซ็นต์ การทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่งโดยใช้สารเททระโซเลียม พบว่ให้เปอร์เซ็นต์ความมีชีวิตสูงกว่าเปอร์เซ็นต์การงอกประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์การทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่งโดยการฉายรังสีเอกซ์ พบว่า สามารถเห็นลักษณะโครงสร้างภายในผล และเมล็ดหวายโป่งได้ แต่ไม่สามารถใช้ทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่ง การทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่งโดยใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ พบว่าไม่สามารถใช้ทดสอบความมีชีวิตของเมล็ดหวายโป่งเช่นกัน One-thousand fruits of Calamus latifolius weigh 1,903 g. and 1,000-seed weight of C. latifolius is 30 g. Fresh Fruits of C. latifolius had moisture content of 68.5% after 14-day air dry had 40.9%. The moisture content of fresh seeds is 25.4%. After 14-day air dry and 6 months of storage respectively. Both sand and rice husk ash were suitable germination media for C. latifolius giving germination of 24% and 23%, respectively. Removal of pericarp and pulp of C. latifolius fruit appeared to be the most suitable seed processing technique giving germination percentage of 27%. Soaking seed in hot water for 24 and 36 hours seemed to be the most effective pretreatment method, which yielded maximum germination of 52% and 53%, respectively. Using an airtight-sealed plastic bag, Seeds of C. latifolius could be stored for 8 months under 10 ํC storage condition. Quick viability assessment of C. latifolius seed using tetrazolium test yielded approximately 2% higher germinability than that of direct germination test. Although x-radiography could be used to observe internal structure of C. latifolius seed, the technique could not be used for viability test for C. latifolius seed. Similarly, hydrogen peroxide test could not be used for quick viability assessment for C. latifolius seed. 2009-08-13 2009-08-13 2541 Thesis 9743325565 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9980 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 769257 bytes 706536 bytes 963582 bytes 803251 bytes 985505 bytes 740760 bytes 705896 bytes 931730 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หวาย หวายโป่ง เมล็ดพันธุ์ |
spellingShingle |
หวาย หวายโป่ง เมล็ดพันธุ์ ชโลทร เลิศอนันต์สกุล การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 |
author2 |
กระบวน วัฒนะปรีชานนท์ |
author_facet |
กระบวน วัฒนะปรีชานนท์ ชโลทร เลิศอนันต์สกุล |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ชโลทร เลิศอนันต์สกุล |
author_sort |
ชโลทร เลิศอนันต์สกุล |
title |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
title_short |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
title_full |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
title_fullStr |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
title_full_unstemmed |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง Calamus Latifolius Roxb |
title_sort |
การเก็บรักษาและการเตรียมก่อนเพาะเมล็ดหวายโป่ง calamus latifolius roxb |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9980 |
_version_ |
1681409739175493632 |