แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9988 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.9988 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.99882009-08-13T02:27:50Z แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม Guidelines for tourism administration and management by local communities : a case study of Donwai Water Front Market, Nakhon Pathom Province ประหยัด ตะคอนรัมย์ สุวัฒนา ธาดานิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การท่องเที่ยว -- การจัดการ การมีส่วนร่วมทางสังคม การท่องเที่ยว -- การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ตลาดดอนหวาย (นครปฐม) วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารและจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชนของแหล่งท่องเที่ยวตลาดริมน้ำดอนหวาย เนื่องจากตลาดริมน้ำดอนหวายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เติบโตอย่างรวดเร็ว นับตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ จะมีนักท่องเที่ยวจำนวนมากในพื้นที่อันจำกัด (ประมาณ 74 ไร่) อันอาจจะทำให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรการท่องเที่ยว ซึ่งการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวปัจจุบันอยู่ในรูปขององค์กรชุมชนคือ คณะกรรมการตลาดริมน้ำดอนหวาย วิธีการศึกษา อาศัยข้อมูลปฐมภูมิ ซึ่งได้จากการสำรวจภาคสนาม โดยใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ และข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อศึกษาสถานการณ์การท่องเที่ยวในพื้นที่ พร้อมศึกษารูปแบบและบทบาทการบริหารและจัดการการบริหารที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน รวบรวมสภาพปัญหา อุปสรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงาน เพื่อนำเสนอแนวทางในการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวที่เหมาะสม ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวคือ รสชาติอาหารและความเป็นเอกลักษณ์ของตลาดริมน้ำ ในด้านปัญหาที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ ปัญหาด้านบริการการท่องเที่ยวและเกิดผลกระทบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ โดยเฉพาะแหล่งน้ำธรรมชาติ ในด้านปัญหาการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวขององค์กรชุมชน ได้แก่ การขาดการบริหารจัดการที่ดี การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน ปัญหาการจัดเก็บผลประโยชน์ ปัญหาด้านงบประมาณ การขาดการประสานงานกับองค์กรอื่นๆ และปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน ข้อเสนอแนะในการจัดองค์กรในการแก้ปัญหา ได้เสนอรูปแบบการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวชุมชนใหม่ โดยเสนอให้ องค์การบริหารส่วนตำบลบางกระทึก ร่วมกับคณะกรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย เป็นองค์กรดำเนินงาน โดยการออกข้อบังคับและระเบียบที่ชัดเจน ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ นอกจากนี้ยังได้เสนอแนะการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวไปยังแหล่งท่องเที่ยวข้างเคียง รวมทั้งการวางแผนการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยคำนึงถึงความสมดุลของสภาพแวดล้อมตามหลักการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน To propose guidelines for tourism administration and management of Donwai Water Front Market by local communities because the market is a fast growing tourist attraction since mid 1998. On weekend, a lot of tourists are crowded in the 74-rai area, effecting tourism resources which are managed by the committee of Donwai Water Front Market, a community organization. This study is based on primary data obtained from field survey. The survey is carried out by using questionnaires and interviews. In addition, secondary data are investigated to determine the tourism situations, the pattern of current management, problems and limitations in management It is found that major factors attracting tourists to this place are taste of food and its uniqueness. Problems include services affecting its physical environment especially natural water resources, a lack of good management, unclear division of labour, income management, budget, a lack of co-operation with other organizations and community participation. To solve the problems, a new organization should be set up. It should run by Bang Kra Tuk Tambon Administration organization and elected committee. The organization has to issue rules and regulation based on good governance to manage the market. Besides, this study suggests combining this market with other tourist attractions nearly and planning community tourism by taking environmental balance into consideration. The balance is in line with principle of sustainable tourism. 2009-08-13T02:27:50Z 2009-08-13T02:27:50Z 2544 Thesis 9740310358 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9988 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9231646 bytes application/pdf application/pdf ไทย นครปฐม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การท่องเที่ยว -- การจัดการ การมีส่วนร่วมทางสังคม การท่องเที่ยว -- การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ตลาดดอนหวาย (นครปฐม) |
spellingShingle |
การท่องเที่ยว -- การจัดการ การมีส่วนร่วมทางสังคม การท่องเที่ยว -- การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ตลาดดอนหวาย (นครปฐม) ประหยัด ตะคอนรัมย์ แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
description |
วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
author2 |
สุวัฒนา ธาดานิติ |
author_facet |
สุวัฒนา ธาดานิติ ประหยัด ตะคอนรัมย์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ประหยัด ตะคอนรัมย์ |
author_sort |
ประหยัด ตะคอนรัมย์ |
title |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
title_short |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
title_full |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
title_fullStr |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
title_full_unstemmed |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
title_sort |
แนวทางการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน : กรณีศึกษา ตลาดริมน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2009 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9988 |
_version_ |
1681410467811033088 |