ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร

หลักการและวัตถุประสงค์ : บุหรี่ส่งผลโดยตรงต่อระบบทางเดินหายใจ มีการศึกษาผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอด พบว่าทำให้ค่า FEV1/FVC และ FEF25-75% ลดลง และระดับกิจกรรมทางกายมีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพปอด ระดับกิจกรรมทางกายที่สูงสามารถชะลอการลดลงของสมรรถภาพปอดในคนที่สูบและไม่สูบบุหรี่ แต่ผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอดแ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุวรรณี จรูงจิตรอารี, นวลอนงค์ ชัยปิยพร, อโนมา สันติวรกุล, สลิลา เศรษฐไกรกุล
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2013
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10351
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.10351
record_format dspace
spelling th-mahidol.103512023-04-12T15:40:07Z ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร Effect of smoking on physical activity level and pulmonary function of vocational students in Bangkok สุวรรณี จรูงจิตรอารี นวลอนงค์ ชัยปิยพร อโนมา สันติวรกุล สลิลา เศรษฐไกรกุล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด Smoking Physical activity level Pulmonary function หลักการและวัตถุประสงค์ : บุหรี่ส่งผลโดยตรงต่อระบบทางเดินหายใจ มีการศึกษาผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอด พบว่าทำให้ค่า FEV1/FVC และ FEF25-75% ลดลง และระดับกิจกรรมทางกายมีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพปอด ระดับกิจกรรมทางกายที่สูงสามารถชะลอการลดลงของสมรรถภาพปอดในคนที่สูบและไม่สูบบุหรี่ แต่ผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอดและระดับกิจกรรมทางกายในวัยรุ่นมีการศึกษาน้อย ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายประจำวันและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร วิธีการศึกษา: การศึกษาเป็นแบบ cross-sectional ในนักศึกษาอาชีวศึกษาเพศชาย ในวิทยาลัยอาชีวศึกษา 5 แห่ง อายุ 17-23 ปี แบ่งเป็นกลุ่มสูบ (n=220) และไม่สูบบุหรี่ (n=202) ทั้งสองกลุ่มตอบแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐาน กิจกรรมที่ทำประจำและวัดสมรรถภาพปอด ผลการศึกษา : จากการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ย FVC, FEV1, FEV1 /FVC และ FEF25-75% ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p=0.764, p=0.852, p=0.895, p=0.821) ค่าเฉลี่ยคะแนนระดับกิจกรรมทางกายขณะทำงาน, ขณะออกกำลังกาย, เวลาว่าง และคะแนนรวมระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p=0.539, p=0.143, p=0.079, p=0.12) และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพปอดกับระดับกิจกรรมทางกายในนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม สรุป : จากการศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นไม่พบความแตกต่างของสมรรถภาพปอดและระดับกิจกรรมทางกายระหว่างนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มและไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดในนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม 2013-05-08T07:11:19Z 2018-03-23T07:14:26Z 2013-05-08T07:11:19Z 2018-03-23T07:14:26Z 2556-04-04 2553-08 Original Article ศรีนครินทร์เวชสาร. ปีที่ 25, ฉบับที่ 4 (2553), 287-291 0857-3123 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10351 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Smoking
Physical activity level
Pulmonary function
spellingShingle Smoking
Physical activity level
Pulmonary function
สุวรรณี จรูงจิตรอารี
นวลอนงค์ ชัยปิยพร
อโนมา สันติวรกุล
สลิลา เศรษฐไกรกุล
ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
description หลักการและวัตถุประสงค์ : บุหรี่ส่งผลโดยตรงต่อระบบทางเดินหายใจ มีการศึกษาผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอด พบว่าทำให้ค่า FEV1/FVC และ FEF25-75% ลดลง และระดับกิจกรรมทางกายมีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพปอด ระดับกิจกรรมทางกายที่สูงสามารถชะลอการลดลงของสมรรถภาพปอดในคนที่สูบและไม่สูบบุหรี่ แต่ผลของบุหรี่ต่อสมรรถภาพปอดและระดับกิจกรรมทางกายในวัยรุ่นมีการศึกษาน้อย ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายประจำวันและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร วิธีการศึกษา: การศึกษาเป็นแบบ cross-sectional ในนักศึกษาอาชีวศึกษาเพศชาย ในวิทยาลัยอาชีวศึกษา 5 แห่ง อายุ 17-23 ปี แบ่งเป็นกลุ่มสูบ (n=220) และไม่สูบบุหรี่ (n=202) ทั้งสองกลุ่มตอบแบบสอบถามข้อมูลพื้นฐาน กิจกรรมที่ทำประจำและวัดสมรรถภาพปอด ผลการศึกษา : จากการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ย FVC, FEV1, FEV1 /FVC และ FEF25-75% ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p=0.764, p=0.852, p=0.895, p=0.821) ค่าเฉลี่ยคะแนนระดับกิจกรรมทางกายขณะทำงาน, ขณะออกกำลังกาย, เวลาว่าง และคะแนนรวมระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p=0.539, p=0.143, p=0.079, p=0.12) และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพปอดกับระดับกิจกรรมทางกายในนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม สรุป : จากการศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นไม่พบความแตกต่างของสมรรถภาพปอดและระดับกิจกรรมทางกายระหว่างนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่มและไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดในนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด
สุวรรณี จรูงจิตรอารี
นวลอนงค์ ชัยปิยพร
อโนมา สันติวรกุล
สลิลา เศรษฐไกรกุล
format Original Article
author สุวรรณี จรูงจิตรอารี
นวลอนงค์ ชัยปิยพร
อโนมา สันติวรกุล
สลิลา เศรษฐไกรกุล
author_sort สุวรรณี จรูงจิตรอารี
title ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
title_short ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
title_full ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
title_sort ผลของบุหรี่ต่อระดับกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพปอดของนักศึกษาอาชีวศึกษาในกรุงเทพมหานคร
publishDate 2013
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10351
_version_ 1781416739879256064