ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างรูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีการดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 369 คน เครื่อ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พรรณิภา สืบสุข, Pannipa Suebsuk, อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล, Autchariya Pongnumkul, เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา, Penchun Sareewiwatthana
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10448
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.10448
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การป้องโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม
มอเตอร์ไซค์รับจ้าง
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
spellingShingle พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การป้องโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม
มอเตอร์ไซค์รับจ้าง
วารสารพยาบาลศาสตร์
Open Access article
Journal of Nursing Science
พรรณิภา สืบสุข
Pannipa Suebsuk
อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล
Autchariya Pongnumkul
เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา
Penchun Sareewiwatthana
ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างรูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีการดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 369 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และแบบบันทึกการตรวจสมรรถภาพปอดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหูคูณผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีสมรรถภาพปอดผิดปกติร้อยละ 14.3 ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 84 อายุ การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม (r = .141, p < .01; r = .260, p < .01; r = .511, p < .01 ตามลําดับ) การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสําคัญกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม (r = - .371, p < . 01) ปัจจัยที่สามารถทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในการป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง (β = .091, p < .05; β = .146, p < .001; β = - .448, p < .001; β = .581, p < .001 ตามลําดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ บุคลากรทางสุขภาพควรจัดกิจกรรมเชิงรุกด้วยการจัดโปรแกรมให้ความรู้ และคําแนะนําเกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเองแก่ผู้ประกอบอาชีพมอเตอร์ไซค์รับจ้าง เพื่อให้มีการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมและสม่ําเสมอในประชากรกลุ่มนี้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
พรรณิภา สืบสุข
Pannipa Suebsuk
อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล
Autchariya Pongnumkul
เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา
Penchun Sareewiwatthana
format Article
author พรรณิภา สืบสุข
Pannipa Suebsuk
อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล
Autchariya Pongnumkul
เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา
Penchun Sareewiwatthana
author_sort พรรณิภา สืบสุข
title ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
title_short ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
title_sort ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10448
_version_ 1763490951481786368
spelling th-mahidol.104482023-03-30T18:51:30Z ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร Predicting Factors of Health Promoting Behaviors to Preventive Environmental Lung Diseases among Motorcycle Taxi Drivers in Bangkok Metropolitan Area พรรณิภา สืบสุข Pannipa Suebsuk อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล Autchariya Pongnumkul เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา Penchun Sareewiwatthana มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การป้องโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม มอเตอร์ไซค์รับจ้าง วารสารพยาบาลศาสตร์ Open Access article Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้างรูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีการดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 369 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และแบบบันทึกการตรวจสมรรถภาพปอดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหูคูณผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีสมรรถภาพปอดผิดปกติร้อยละ 14.3 ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 84 อายุ การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม (r = .141, p < .01; r = .260, p < .01; r = .511, p < .01 ตามลําดับ) การรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสําคัญกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม (r = - .371, p < . 01) ปัจจัยที่สามารถทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ในการป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง (β = .091, p < .05; β = .146, p < .001; β = - .448, p < .001; β = .581, p < .001 ตามลําดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ บุคลากรทางสุขภาพควรจัดกิจกรรมเชิงรุกด้วยการจัดโปรแกรมให้ความรู้ และคําแนะนําเกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคปอดจากสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเองแก่ผู้ประกอบอาชีพมอเตอร์ไซค์รับจ้าง เพื่อให้มีการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมและสม่ําเสมอในประชากรกลุ่มนี้ Purpose: This study aimed to examine predicting factors of health promoting behaviors to preventive environmental lung diseases among motorcycle taxi drivers in the Bangkok MetropolitanArea.Design: A correlational predictive design.Methods: The samples included 369 motorcycle taxi drivers in Bangkok Metropolitan Area,Thailand. Data were collected using self-administered questionnaires, including demographicinformation, health promoting behaviors to preventive environmental lung diseases, perceived benefits,perceived self-efficacy, perceived barriers, and the pulmonary function record. Data were analyzed usingdescriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, and multiple regression analysis.Main findings: The samples demonstrated pulmonary function disorders 14.3 %. The majorityhad a moderate level of health promoting behaviors to preventive environmental lung diseases (84 %).Age, perceived benefits and perceived self-efficacy were significantly positively correlated with healthpromoting behaviors to preventive environmental lung diseases (r = .141, p < .01; r = .260, p < .01;r = .511, p < .01, respectively). Perceived barriers had a significantly negative relationship with healthpromoting behaviors to preventive environmental lung diseases (r = - .371, p < .01). Age, perceivedbenefits, perceived barriers and perceived self-efficacy were significant predictors of health promotingbehaviors to preventive environmental lung diseases (β = .091, p < .05; β = .146, p < .001; β = - .448,p < .001; β = .581, p < .001, respectively).Conclusion and recommendations: Health care providers should be proactive in conducting a program providing knowledge and advice regarding the health promoting behaviors to preventenvironmental lung diseases, as well as activities that help enhance self-efficacy among motorcycle taxidrivers. This program will benefit this group of population to have appropriate and consistent healthpromoting behaviors งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากแผนงานพัฒนาเครือข่ายพยาบาลศาสตร์เพื่อ การสร้างเสริมสุขภาพ (พย.สสส.) 2018-04-01T13:22:37Z 2018-04-01T13:22:37Z 2561-04-01 2556 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 31, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. -มี.ค. 2556), 48-58 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/10448 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf