สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี

การดูแลผู้สูงอายุที่ประสบกับภาวะทุพพลภาพ เป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของสังคมไทยในปัจจุบัน การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มุ่งศึกษาสถานการณ์สุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพใน 2 ชุมชน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง กับผู้ที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในครอบครัวของชุมชนตำบลท่าไม้ อำเภอท่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สมชาย วิริภิรมย์กูล, ดลพัฒน์ ยศธร, เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน
Format: Article
Language:Thai
Published: 2017
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1332
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.1332
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
ทุพพลภาพ
ภาวะสุขภาพ
การดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพระยะยาว
ชุมชน
elderly
disability
health situation
long term care
community
Open Access article
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
spellingShingle ผู้สูงอายุ
ทุพพลภาพ
ภาวะสุขภาพ
การดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพระยะยาว
ชุมชน
elderly
disability
health situation
long term care
community
Open Access article
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
สมชาย วิริภิรมย์กูล
ดลพัฒน์ ยศธร
เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร
กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์
สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
description การดูแลผู้สูงอายุที่ประสบกับภาวะทุพพลภาพ เป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของสังคมไทยในปัจจุบัน การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มุ่งศึกษาสถานการณ์สุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพใน 2 ชุมชน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง กับผู้ที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในครอบครัวของชุมชนตำบลท่าไม้ อำเภอท่ามะกา และ ตำบลจรเข้เผือก อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ตำบลละ 12 ราย รวม 24 ราย และสนทนากลุ่ม แบบกึ่งมีโครงสร้างคำถาม กับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในชุมชน รวม 2 กลุ่ม อันได้แก่ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ อบต. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.) ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ผลการศึกษา พบว่า แนวโน้มผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในชุมชน มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยสาเหตุมาจากการมีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ การเสื่อมโทรมตามวัย เช่น หูตึง กระดูกเสื่อม ฯลฯ และการประสบอุบัติเหตุ เช่น รถชน หกล้ม ฯลฯ ทำให้ต่อมาเกิดภาวะทุพพลภาพในระยะยาว ส่วนประเด็นการดูแลผู้สูงอายุที่พิการและทุพพลภาพนั้น มีการดูแลโดยตนเอง โดยครอบครัวและญาติพี่น้อง รวมทั้งโดยชุมชน อันได้แก่ กลุ่มเพื่อนบ้าน และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ซึ่งให้การดูแลเป็นอย่างดี ผู้ที่เกี่ยวข้องและภาครัฐควรให้ความรู้ สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชน ให้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงการเข้าสู่วัยชรา การหาแนวทางป้องกันปัญหาการหกล้ม และภาวะทุพพลภาพ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว ควรจัดสวัสดิการเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยเหลือบางกรณี เช่น จัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของผู้มีภาวะทุพพลภาพระยะยาว เช่น รถเข็น ที่นอนลม ฯลฯ สนับสนุนการเดินทางมาพบแพทย์ และเพิ่มเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ ตลอดจนสนับสนุนการให้ความรู้แก่คนในครอบครัว อสม. อผส.ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน
สมชาย วิริภิรมย์กูล
ดลพัฒน์ ยศธร
เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร
กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์
format Article
author สมชาย วิริภิรมย์กูล
ดลพัฒน์ ยศธร
เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล
สุพัตรา ศรีวณิชชากร
กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์
author_sort สมชาย วิริภิรมย์กูล
title สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
title_short สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
title_full สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
title_fullStr สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
title_full_unstemmed สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
title_sort สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
publishDate 2017
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1332
_version_ 1781415685039063040
spelling th-mahidol.13322023-04-12T15:19:59Z สถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ : กรณีศึกษา อำเภอท่ามะกา และ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี The Health Situation of the Disabled Elderly: a case study of Tha- Maka and Dan Makham Tia districts in Kanchanaburi Province สมชาย วิริภิรมย์กูล ดลพัฒน์ ยศธร เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล สุพัตรา ศรีวณิชชากร กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ผู้สูงอายุ ทุพพลภาพ ภาวะสุขภาพ การดูแลผู้สูงอายุทุพพลภาพระยะยาว ชุมชน elderly disability health situation long term care community Open Access article วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities การดูแลผู้สูงอายุที่ประสบกับภาวะทุพพลภาพ เป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของสังคมไทยในปัจจุบัน การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มุ่งศึกษาสถานการณ์สุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพใน 2 ชุมชน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง กับผู้ที่ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในครอบครัวของชุมชนตำบลท่าไม้ อำเภอท่ามะกา และ ตำบลจรเข้เผือก อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ตำบลละ 12 ราย รวม 24 ราย และสนทนากลุ่ม แบบกึ่งมีโครงสร้างคำถาม กับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในชุมชน รวม 2 กลุ่ม อันได้แก่ ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ อบต. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.) ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ผลการศึกษา พบว่า แนวโน้มผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพในชุมชน มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยสาเหตุมาจากการมีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ การเสื่อมโทรมตามวัย เช่น หูตึง กระดูกเสื่อม ฯลฯ และการประสบอุบัติเหตุ เช่น รถชน หกล้ม ฯลฯ ทำให้ต่อมาเกิดภาวะทุพพลภาพในระยะยาว ส่วนประเด็นการดูแลผู้สูงอายุที่พิการและทุพพลภาพนั้น มีการดูแลโดยตนเอง โดยครอบครัวและญาติพี่น้อง รวมทั้งโดยชุมชน อันได้แก่ กลุ่มเพื่อนบ้าน และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ซึ่งให้การดูแลเป็นอย่างดี ผู้ที่เกี่ยวข้องและภาครัฐควรให้ความรู้ สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชน ให้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเอง ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงการเข้าสู่วัยชรา การหาแนวทางป้องกันปัญหาการหกล้ม และภาวะทุพพลภาพ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว ควรจัดสวัสดิการเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยเหลือบางกรณี เช่น จัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของผู้มีภาวะทุพพลภาพระยะยาว เช่น รถเข็น ที่นอนลม ฯลฯ สนับสนุนการเดินทางมาพบแพทย์ และเพิ่มเบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ ตลอดจนสนับสนุนการให้ความรู้แก่คนในครอบครัว อสม. อผส.ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน Care for the elderly with disabilities has become a serious issue of concern in contemporary Thai society. This qualitative research aims to study the health situation of and health care for the elderly with disabilities in two Thai communities by means of semi-structured, In-depth interviews with twelve family caregivers, in Tha Mai sub-district of Tha-Maka District, and twelve in Jorake-Puak sub -district of Dan Makham Tia District, Kanchanaburi Province, Thailand, a total of 24 cases in all. Two focus group discussions with community leaders, local organization administration staff, public health officials, village health volunteers (VHVs), and Care-for-the-Elderly-at-Home volunteers in these areas were conducted using semi-structured questions. The findings show that there is an increasing trend towards elderly people in these communities possessing some form of disability due to chronic diseases such as high blood pressure, cholesterol, heart disease, diabetes etc.; as well as age-related afflictions such as hearing loss, stroke, osteoarthritis etc. Accidents and falls also contribute to long-term disabilities in the elderly. With regard to health care for the disabled elderly, different levels of care were identified, namely, self-care; care by family members; and by societal members including neighbors, volunteers, and relevant local authorities. Health care staff and relevant agencies should disseminate knowledge about and raise awareness of the importance of self-care throughout one’s life; accident and disability prevention advice should be made available, particularly to those who suffer from chronic disease. The provision of additional assistance is recommended in specific long-term cases, especially support equipment that facilitates daily life activities such as wheelchairs, air mattresses etc. Transport facilities should be made available as required so that the elderly with disabilities may access health care services more conveniently, and an increase in the old age benefit is sorely overdue. Finally, health care knowledge must be promoted and maintained for family members, VHV, and the Care-for-the-Elderly-at-Home volunteers. 2017-03-08T06:16:00Z 2017-03-08T06:16:00Z 2560-03-08 2558 Research Article วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 11, ฉบับที่ 14 (ม.ค.-ธ.ค. 2558), 24-42 1686-6959 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1332 tha มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf