ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ
กระบวนการฆ่าเชื้อโรคในสระว่ายน้ำเป็นกระบวนการที่ป้องกันการติดต่อตจากจุลินทรีย์ก่อโรคกับผู้ใช้สระว่ายน้ำ แต่การดำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดสารตกค้างที่ส่งผลกระทบต่สุขภาพของผู้ใช้สระว่ายน้ำอีกด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสารก่อมะเร็งในคนของกลุ่มสารไตรฮาโลมีเทนซึ่งเป็นสารที่เกิดจากปฏิกริยาระหว่างสารอินทรีย์ในน้...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1559 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.1559 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.15592023-04-12T15:36:38Z ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ Health risk from exposure to Trihalomethanes in swimming pools มารินี โด ชีระวิทย์ รัตนพันธ์ ธันวดี สุขสาโรจน์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน Swimming pool Trihalomethanes Health risk สระว่ายน้ำ สารไตรฮาโลมีเทน ความเสี่ยงทางสุขภาพ Open Access article Journal of Public Health and Development วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา กระบวนการฆ่าเชื้อโรคในสระว่ายน้ำเป็นกระบวนการที่ป้องกันการติดต่อตจากจุลินทรีย์ก่อโรคกับผู้ใช้สระว่ายน้ำ แต่การดำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดสารตกค้างที่ส่งผลกระทบต่สุขภาพของผู้ใช้สระว่ายน้ำอีกด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสารก่อมะเร็งในคนของกลุ่มสารไตรฮาโลมีเทนซึ่งเป็นสารที่เกิดจากปฏิกริยาระหว่างสารอินทรีย์ในน้ำกับการเติมคลอรีน ดังนี้นบทความฉบับนี้จองทบทวนวรรณกรรมถึงความเสียงทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการได้รับสัมผัดสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ โดยจากการรายงานของ US Environmental Protection Agency (USEPA) พบว่า ในสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนทั้ง 4 ชนิด ได้แก่ คลอโรฟอร์ม โบรโมไดคลอโรมีเทน คลอโรไดโบรมีเทน และโปรโมฟอร์ม นั้นเป็นอัสารที่สามารถก่อมะเร็งในคนได้และยังก่อให้เกิดอันตรายกับลูกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบปริมาณของสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนที่ตรวจพบในสระว่ายน้ำกับค่ามาตรฐานแล้วพบว่ามีค่าที่ใกล้เคียงหรือสูงมากกว่ามาตรฐานเล็กน้อย โดยเมื่อประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้สัมผัสสารไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำแล้วพบว่าการได้รับสัมผัสสารไตรฮาโลมีเทนจากสระว่ายน้ำเกือบทุกการศึกษานั้นจะมีค่าความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งสูงกว่าความเสี่ยงมาตรฐานที่กำหนดโดย USEPA และการได้รับสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำนั้นได้จากการสัมผัสทางผิวหนังขณะว่ายน้ำและจากการดื่มน้ำนั้นอีกด้วย โดยแนวทางในการลดความเสี่ยงจากการได้รับสารไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ ได้แก่การเปลี่ยนการใช้สารฆ่าเชื้อโรค การติดตั้งเทคโนโลยีในการลดการเกิดสารไตรฮาโลมีเทน การลดสารตั้งต้นในสระว่ายน้ำ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้สระว่ายน้ำ Disinfecting swimming pool water is a process to protect swimmers against infection by microbiological pathogens and generate the various chlorine by-products that affect the health of swimmers. Especially, trihalomethanes (THMs), carcinogenic substance, generated from chemical reaction between organic matter in water and added chlorine. Therefore, this article was to review the health risk arising from exposure to THMs in the swimming pool. The reporl from the US Environmental Protection Agency (USEPA) showed that the four compounds of the THMs, consisted of chloroform, bromodichloromethane, dibromochloromethane and bromoform, are human carcinogen and caused harm to fetus of pregnant women. However, comparing the THMs concentrations detected in the swimming pool with the standard values were similar or slightly higher than the standard. The assessment of health risk from exposure to THMs in the swimming pool found that risk of having cancer from exposure to THMs in the swimming pool was higher than the risk standards set by USEPA. THMs can be exposure through skin and swelling during swimming. Therefore, the approach of risk reduction from exposure to THMs in swimming pool was the change of the disinfectant, installation technology for reducing the THMs generation, reduction of precursor substances in swimming pool and the change of swimmer behavior. 2015-11-19T08:51:21Z 2017-03-31T02:27:40Z 2015-11-19T08:51:21Z 2017-03-31T02:27:40Z 2015-11-19 2554 Article วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (2554), 208-222 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1559 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
Swimming pool Trihalomethanes Health risk สระว่ายน้ำ สารไตรฮาโลมีเทน ความเสี่ยงทางสุขภาพ Open Access article Journal of Public Health and Development วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา |
spellingShingle |
Swimming pool Trihalomethanes Health risk สระว่ายน้ำ สารไตรฮาโลมีเทน ความเสี่ยงทางสุขภาพ Open Access article Journal of Public Health and Development วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา มารินี โด ชีระวิทย์ รัตนพันธ์ ธันวดี สุขสาโรจน์ ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
description |
กระบวนการฆ่าเชื้อโรคในสระว่ายน้ำเป็นกระบวนการที่ป้องกันการติดต่อตจากจุลินทรีย์ก่อโรคกับผู้ใช้สระว่ายน้ำ แต่การดำเนินการดังกล่าวก่อให้เกิดสารตกค้างที่ส่งผลกระทบต่สุขภาพของผู้ใช้สระว่ายน้ำอีกด้วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสารก่อมะเร็งในคนของกลุ่มสารไตรฮาโลมีเทนซึ่งเป็นสารที่เกิดจากปฏิกริยาระหว่างสารอินทรีย์ในน้ำกับการเติมคลอรีน ดังนี้นบทความฉบับนี้จองทบทวนวรรณกรรมถึงความเสียงทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการได้รับสัมผัดสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ โดยจากการรายงานของ US Environmental Protection Agency (USEPA) พบว่า ในสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนทั้ง 4 ชนิด ได้แก่ คลอโรฟอร์ม โบรโมไดคลอโรมีเทน คลอโรไดโบรมีเทน และโปรโมฟอร์ม นั้นเป็นอัสารที่สามารถก่อมะเร็งในคนได้และยังก่อให้เกิดอันตรายกับลูกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบปริมาณของสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนที่ตรวจพบในสระว่ายน้ำกับค่ามาตรฐานแล้วพบว่ามีค่าที่ใกล้เคียงหรือสูงมากกว่ามาตรฐานเล็กน้อย โดยเมื่อประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้สัมผัสสารไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำแล้วพบว่าการได้รับสัมผัสสารไตรฮาโลมีเทนจากสระว่ายน้ำเกือบทุกการศึกษานั้นจะมีค่าความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งสูงกว่าความเสี่ยงมาตรฐานที่กำหนดโดย USEPA และการได้รับสารกลุ่มไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำนั้นได้จากการสัมผัสทางผิวหนังขณะว่ายน้ำและจากการดื่มน้ำนั้นอีกด้วย โดยแนวทางในการลดความเสี่ยงจากการได้รับสารไตรฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ ได้แก่การเปลี่ยนการใช้สารฆ่าเชื้อโรค การติดตั้งเทคโนโลยีในการลดการเกิดสารไตรฮาโลมีเทน การลดสารตั้งต้นในสระว่ายน้ำ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้สระว่ายน้ำ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มารินี โด ชีระวิทย์ รัตนพันธ์ ธันวดี สุขสาโรจน์ |
format |
Article |
author |
มารินี โด ชีระวิทย์ รัตนพันธ์ ธันวดี สุขสาโรจน์ |
author_sort |
มารินี โด |
title |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
title_short |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
title_full |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
title_fullStr |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
title_full_unstemmed |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
title_sort |
ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการได้รับสัมผัสสารไตฮาโลมีเทนในสระว่ายน้ำ |
publishDate |
2015 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/1559 |
_version_ |
1781416427400462336 |